บทท ๘ วงจรการพ ฒนาระบบ

August 12, 2017 | Author: สุนี พิศาลบุตร | Category: N/A
Share Embed Donate


Short Description

Download บทท ๘ วงจรการพ ฒนาระบบ...

Description

บทที่ ๘ วงจรการพัฒนาระบบ วงจรการพัฒนาระบบ 3.1 จุดกําเนิดของระบบงาน จุดกําเนิดของระบบงานโดยปกติจะกําเนิดขึ้นจากผูใ้ ช้ระบบ เนื่องจากผูใ้ ช้ระบบเป็ นผูใ้ กล้ชิด กับกิจกรรมของธุรกิจมากที่สุด ดังนั้นกิจกรรมทางธุรกิจได้ดาํ เนินไปอย่างต่อเนื่องนั้น ความ ต้องการที่จะพัฒนาปรับปรุ งกิจการต่างๆย่อมเกิดขึ้น นักวิเคราะห์ระบบจึงเริ่ มเข้ามามีบทบาทใน การพัฒนาปรับปรุ งแก้ไขระบบงาน James Wetherbe ได้แต่งหนังสือออกมาเล่มหนึ่งในปี 2527 โดยใช้ชื่อว่า “System Analysis and Design: Traditional, Structured and Advanced Concepts and Techniques.” โดยให้ แนวความคิดในการแจกแจงกลุ่มของปั ญหาออกเป็ น 6 หัวข้อตามความต้องการของผูใ้ ช้ ซึ่งแทน ด้วยอักษร 6 ตัวคือ PIECES อ่านว่า “ พีซ-เซส ” โดยมีรายละเอียดดังนี้ คือ 1. Performance หมายถึงความต้องการที่จะให้มีการปรับปรุ งทางด้านการปฎิบตั ิงาน 2. Information หมายถึงความต้องการที่จะให้มีการปรับปรุ งและควบคุมทางด้านข้อมูล 3. Economics หมายถึงความต้องการที่จะให้มีการปรับปรุ งและควบคุมทางด้านต้นทุน 4. Control หมายถึงความต้องการที่จะให้มีการปรับปรุ งระบบงานข้อมูล เพือ่ ให้มีการควบคุมและ ระบบรักษาความปลอดภัยที่ดียงิ่ ขึ้น 5. Efficiency หมายถึงความต้องการที่จะให้มีการปรับปรุ งประสิทธิภาพของคนและเครื่ องจักร 6. service หมายถึงความต้องการที่จะให้มีการปรับปรุ งการบริ การต่างๆ ให้ดีข้ ึน เช่น การบริ การ ลูกค้าหรื อการให้บริ การต่อพนักงานภายในธุรกิจเองเป็ นต้น ในแต่ละโครงการของระบบงานข้อมูลนั้น จะมีลกั ษณะที่จะตอบสนองความต้องการที่ได้ ระบุอยูใ่ นพีซเซสอันใดอันหนึ่งหรื อมากกว่าหนึ่งก็ได้ ดังนั้นพีซเซสจึงมีความสําคัญต่อนักวิเคราะห์ ระบบในการใช้ เพือ่ พิจารณาถึงปั ญหาและความต้องการของผูใ้ ช้อย่างมีหลักเกณฑ์

วงจรการพัฒนาระบบ

271

3.2 วงจรการพัฒนาระบบ ( System Development Life Cycle :SDLC) ระบบสารสนเทศทั้งหลายมีวงจรชีวติ ที่เหมือนกันตั้งแต่เกิดจนตายวงจรนี้จะเป็ นขั้นตอน ที่ เป็ นลําดับตั้งแต่ตน้ จนเสร็ จเรี ยบร้อย เป็ นระบบที่ใช้งานได้ ซึ่งนักวิเคราะห์ระบบต้องทําความเข้าใจ ให้ดีวา่ ในแต่ละขั้นตอนจะต้องทําอะไร และทําอย่างไร ขั้นตอนการพัฒนาระบบมีอยูด่ ว้ ยกัน 7 ขั้น ด้วยกัน คือ 1. เข้าใจปั ญหา ( Problem Recognition) 2. ศึกษาความเป็ นไปได้ ( Feasibility Study) 3. วิเคราะห์ ( Analysis) 4. ออกแบบ ( Design) 5. สร้างหรื อพัฒนาระบบ (Construction) 6. การปรับเปลี่ยน ( Conversion) 7. บํารุ งรักษา (Maintenance) ขั้นที่ 1 : เข้ าใจปัญหา ( Problem Recognition) ะบบสารสนเทศจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อผูบ้ ริหารหรื อผูใ้ ช้ตระหนักว่า ต้องการระบบสารสนเทศ หรื อระบบจัดการเดิม ได้แก่ระบบเอกสารในตูเ้ อกสาร ไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอที่ตอบสนองความ ต้องการในปั จจุบนั ปั จจุบนั ผูบ้ ริ หารตื่นตัวกันมากที่จะให้มีการพัฒนาระบบสารสนเทศมาใช้ในหน่วยงานของ ตน ในงานธุรกิจ อุตสาหกรรม หรื อใช้ในการผลิต ตัวอย่างเช่น บริ ษทั ของเรา จํากัด ติดต่อซื้อสินค้า จากผูข้ ายหลายบริ ษทั ซึ่ งบริ ษทั ของเราจะมีระบบ MIS ที่เก็บข้อมูลเกี่ยวกับหนี้สินที่บริ ษทั ขอเราติด ค้างผูข้ ายอยู่ แต่ระบบเก็บข้อมูลผูข้ ายได้เพียง 1,000 รายเท่านั้น แต่ปัจจุบนั ผูข้ ายมีระบบเก็บข้อมูล ถึง 900 ราย และอนาคตอันใกล้น้ ีจะเกิน 1,000 ราย ดังนั้นฝ่ ายบริ หารจึงเรี ยกนักวิเคราะห์ระบบเข้า มาศึกษา แก้ไขระบบงาน ปั ญหาที่สาํ คัญของระบบสารสนเทศในปั จจุบนั คือ ระบบเขียนมานานแล้ว ส่วนใหญ่เขียนมา เพือ่ ติดตามเรื่ องการเงิน ไม่ได้มีจุดประสงค์เพือ่ ให้ขอ้ มูลข่าวสารในการตัดสินใจ แต่ปัจจุบนั ฝ่ าย

รายวิชาพื ้นฐานคอมพิวเตอร์ เบื ้องต้ นและสารสนเทศ

เรี ยบเรี ยงโดย อาจารย์นเรศร์ บุญเลิศ วท.บ.,คม.

วงจรการพัฒนาระบบ

272

บริ หารต้องการดูสถิติการขายเพือ่ ใช้ในการคาดคะเนในอนาคต หรื อความต้องการอื่นๆ เช่น สินค้า ที่มียอดขายสูง หรื อสินค้าที่ลูกค้าต้องการสูง หรื อการแยกประเภทสินค้าต่างๆที่ทาํ ได้ไม่ง่ายนัก การที่จะแก้ไขระบบเดิมที่มีอยูแ่ ล้วไม่ใช่เรื่ องที่ง่ายนัก หรื อแม้แต่การสร้างระบบใหม่ ดังนั้น ควรจะมีการศึกษาเสียก่อนว่า ความต้องการของเราเพียงพอที่เป็ นไปได้หรื อไม่ ได้แก่ "การศึกษา ความเป็ นไปได้" (Feasibility Study) สรุป ขั้นตอนที่ 1: เข้ าใจปัญหา หน้าที่ : ตระหนักว่ามีปัญหาในระบบ ผลลัพธ์ : อนุมตั ิการศึกษาความเป็ นไปได้ เครื่ องมือ : ไม่มี บุคลากรและหน้าทีค่ วามรับผิดชอบ : ผูใ้ ช้หรื อผูบ้ ริ หารชี้แจงปั ญหาต่อนักวิเคราะห์ระบบ ขั้นตอนที่ 2 : ศึกษาความเป็ นไปได้ ( Feasibility Study) จุดประสงค์ของการศึกษาความเป็ นไปได้ก็คือ การกําหนดว่าปั ญหาคืออะไรและตัดสินใจว่า การพัฒนาสร้างระบบสารสนเทศ หรื อการแก้ไขระบบสารสนเทศเดิมมีความเป็ นไปได้หรื อไม่โดย เสียค่าใช้จ่ายและเวลาน้อยที่สุด และได้ผลเป็ นที่น่าพอใจ ปั ญหาต่อไปคือ นักวิเคราะห์ระบบจะต้องกําหนดให้ได้วา่ การแก้ไขปั ญหาดังกล่าวมีความ เป็ นไปได้ทางเทคนิคและบุคลากร ปั ญหาทางเทคนิคก็จะเกี่ยวข้องกับเรื่ องคอมพิวเตอร์ และ เครื่ องมือเก่าๆถ้ามี รวมทั้งเครื่ องคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์ดว้ ย ตัวอย่างคือ คอมพิวเตอร์ที่ใช้อยูใ่ น บริ ษทั เพียงพอหรื อไม่ คอมพิวเตอร์อาจจะมีเนื้อที่ของฮาร์ดดิสก์ไม่เพียงพอ รวมทั้งซอฟต์แวร์ ว่า อาจจะต้องซื้อใหม่ หรื อพัฒนาขึ้นใหม่ เป็ นต้น ความเป็ นไปได้ทางด้านบุคลากร คือ บริ ษทั มีบุคคล ที่เหมาะสมที่จะพัฒนาและติดตั้งระบบเพียงพอหรื อไม่ ถ้าไม่มีจะหาได้หรื อไม่ จากที่ใด เป็ นต้น นอกจากนั้นควรจะให้ความสนใจว่าผูใ้ ช้ระบบมีความคิดเห็นอย่างไรกับการเปลี่ยนแปลง รวมทั้ง ความเห็นของผูบ้ ริ หารด้วย สุดท้ายนักวิเคราะห์ระบบต้องวิเคราะห์ได้วา่ ความเป็ นไปได้เรื่ องค่าใช้จ่าย รวมทั้งเวลาที่ ใช้ ในการพัฒนาระบบ และที่สาํ คัญคือ ผลประโยชน์ที่จะได้รับ เรื่ องเวลาเป็ นสิ่งสําคัญ เช่น การ เปลี่ยนแปลงระบบเพือ่ รองรับผูข้ ายให้ได้มากกว่า 1,000 บริ ษทั นั้น ควรใช้เวลาไม่เกิน 1 ปี ตั้งแต่ เริ่ มต้นจนใช้งานได้ ค่าใช้จ่ายเริ่ มตั้งแต่พฒั นาจนถึงใช้งานได้จริ งได้แก่ เงินเดือน เครื่ องมือ อุปกรณ์ ต่างๆ เป็ นต้น พูดถึงเรื่ องผลประโยชน์ที่ได้รับอาจมองเห็นได้ไม่ง่ายนัก แต่นกั วิเคราะห์ระบบควร รายวิชาพื ้นฐานคอมพิวเตอร์ เบื ้องต้ นและสารสนเทศ

เรี ยบเรี ยงโดย อาจารย์นเรศร์ บุญเลิศ วท.บ.,คม.

วงจรการพัฒนาระบบ

273

มองและตีออกมาในรู ปเงินให้ได้ เช่น เมื่อนําระบบใหม่เข้ามาใช้อาจจะทําให้ ค่าใช้จ่ายบุคลากร ลดลง หรื อกําไรเพิม่ มากขึ้น เช่น ทําให้ยอดขายเพิม่ มากขึ้น เนื่องจากผูบ้ ริ หารมีขอ้ มูลพร้อมที่จะ ช่วยในการตัดสินใจที่ดีข้ ึน การคาดคะเนทั้งหลายเป็ นไปอย่างหยาบๆ เราไม่สามารถหาตัวเลขที่แน่นอนตายตัวได้เนื่องจาก ทั้งหมดยังไม่ได้เกิดขึ้นจริ ง หลังจากเตรี ยมตัวเลขเรี ยบร้อยแล้ว นักวิเคราะห์ระบบก็นาํ ตัวเลข ค่าใช้จ่ายและผลประโยชน์ ( Cost-Benefit) มาเปรี ยบเทียบกันดังตัวอย่างในตาราง ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่ายในการพัฒนา ระบบ ค่าใช้จ่ายเมื่อปฏิบตั ิงาน ค่าใช้จ่ายรวมตั้งแต่ตน้ ผลประโยชน์ ผลประโยชน์ต้งั แต่ตน้

ปี ที่ 0 200,000

ปี ที่ 1 -

ปี ที่ 2 -

ปี ที่ 3 -

50,000 52,000 60,000 200,000 250,000 302,000 362,000 80,000 100,000 120,000 80,000 180,000 300,000

ปี ที่ 4 -

ปี ที่ 5 -

70,000 422,000 150,000 450,000

85,500 507,000 200,000 650,000

จะเห็นว่าหลังจากปี ที่ 3 บริ ษทั เริ่ มมีกาํ ไรเพิม่ ขึ้น ดังนั้นปั ญหามีอยูว่ า่ เราจะยอมขาดทุนใน 3 ปี แรก และลงทุนเริ่ มต้นเป็ นเงิน 200,000 บาท หรื อไม่ สรุปขั้นตอนที่ 2 : การศึกษาความเป็ นไปได้ ( Feasibility Study) หน้าที่ : กําหนดปั ญหา และศึกษาว่าเป็ นไปได้หรื อไม่ที่จะเปลี่ยนแปลงระบบ ผลลัพธ์ : รายงานความเป็ นไปได้ เครื่ องมือ : เก็บรวบรวมข้อมูลของระบบและคาดคะเนความต้องการของระบบ บุคลากรและหน้ าที่ความรับผิดชอบ : ผู้ใช้ จะมีบทบาทสํ าคัญในการศึกษา 1. นักวิเคราะห์ระบบจะเก็บรวบรวมข้อมูลทั้งหมดที่จาํ เป็ นทั้งหมดเกี่ยวกับปั ญหา 2. นักวิเคราะห์ระบบคาดคะเนความต้องการของระบบและแนวทางการแก้ปัญหา 3. นักวิเคราะห์ระบบ กําหนดความต้องการที่แน่ชดั ซึ่งจะใช้สาํ หรับขั้นตอนการวิเคราะห์ต่อไป 4. ผูบ้ ริ หารตัดสินใจว่าจะดําเนินโครงการต่อไปหรื อไม่

รายวิชาพื ้นฐานคอมพิวเตอร์ เบื ้องต้ นและสารสนเทศ

เรี ยบเรี ยงโดย อาจารย์นเรศร์ บุญเลิศ วท.บ.,คม.

วงจรการพัฒนาระบบ

274

ขั้นตอนที่ 3 การวิเคราะห์ (Analysis) เริ่ มเข้าสู่การวิเคราะห์ระบบ การวิเคราะห์ระบบเริ่ มตั้งแต่การศึกษาระบบการทํางานของ ธุรกิจนั้น ในกรณี ที่ระบบเราศึกษานั้นเป็ นระบบสารสนเทศอยูแ่ ล้วจะต้องศึกษาว่าทํางานอย่างไร เพราะเป็ นการยากที่จะออกแบบระบบใหม่โดยที่ไม่ทราบว่าระบบเดิมทํางานอย่างไร หรื อธุรกิจ ดําเนินการอย่างไร หลังจากนั้นกําหนดความต้องการของระบบใหม่ ซึ่งนักวิเคราะห์ระบบจะต้องใช้ เทคนิคในการเก็บข้อมูล ( Fact-Gathering Techniques) ดังรู ป ได้แก่ ศึกษาเอกสารที่มีอยู่ ตรวจสอบ วิธีการทํางานในปั จจุบนั สัมภาษณ์ผใู ้ ช้และผูจ้ ดั การที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับระบบ เอกสารที่มีอยูไ่ ด้แก่ คู่มือการใช้งาน แผนผังใช้งานขององค์กร รายงานต่างๆที่หมุนเวียนใน ระบบการศึกษาวิธีการ ทํางานในปั จจุบนั จะทําให้นกั วิเคราะห์ระบบรู ้วา่ ระบบจริ งๆทํางานอย่างไร ซึ่งบางครั้งค้นพบ ข้อผิดพลาดได้ ตัวอย่าง เช่น เมื่อบริ ษทั ได้รับใบเรี ยกเก็บเงินจะมีข้นั ตอนอย่างไรในการจ่ายเงิน ขั้นตอนที่เสมียนป้ อนใบเรี ยกเก็บเงินอย่างไร เฝ้ าสังเกตการทํางานของผูเ้ กี่ยวข้อง เพือ่ ให้เข้าใจและ เห็นจริ งๆ ว่าขั้นตอนการทํางานเป็ นอย่างไร ซึ่งจะทําให้นกั วิเคราะห์ระบบค้นพบจุดสําคัญของ ระบบว่าอยูท่ ี่ใด การสัมภาษณ์เป็ นศิลปะอย่างหนึ่งที่นกั วิเคราะห์ระบบควรจะต้องมีเพือ่ เข้ากับผูใ้ ช้ได้ง่าย และ สามารถดึงสิ่งที่ตอ้ งการจากผูใ้ ช้ได้ เพราะว่าความต้องการของระบบคือ สิ่งสําคัญที่จะใช้ในการ ออกแบบต่อไป ถ้าเราสามารถกําหนดความต้องการได้ถูกต้อง การพัฒนาระบบในขั้นตอนต่อไปก็ จะง่ายขึ้น เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลแล้วจะนํามาเขียนรวมเป็ นรายงานการทํางานของ ระบบซึ่งควร แสดงหรื อเขียนออกมาเป็ นรู ปแทนที่จะร่ ายยาวออกมาเป็ นตัวหนังสือ การแสดงแผนภาพจะทําให้ เราเข้าใจได้ดีและง่ายขึ้น หลังจากนั้นนักวิเคราะห์ระบบ อาจจะนําข้อมูลที่รวบรวมได้นาํ มาเขียน เป็ น "แบบทดลอง" ( Prototype) หรื อตัวต้นแบบ แบบทดลองจะเขียนขึ้นด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ต่างๆ และที่ช่วยให้ง่ายขึ้นได้แก่ ภาษายุคที่ 4 (Fourth Generation Language) เป็ นการสร้าง โปรแกรมคอมพิวเตอร์ข้ ึนมาเพือ่ ใช้งานตามที่เราต้องการได้ ดังนั้นแบบทดลองจึงช่วยลด ข้อผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้นได้ เมื่อจบขั้นตอนการวิเคราะห์แล้ว นักวิเคราะห์ระบบจะต้องเขียนรายงานสรุ ปออกมาเป็ น ข้อมูลเฉพาะของปั ญหา ( Problem Specification) ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ รายละเอียดของระบบเดิม ซึ่งควรจะเขียนมาเป็ นรู ปภาพแสดงการทํางานของระบบ พร้อมคํา บรรยาย , กําหนดความต้องการของระบบใหม่รวมทั้งรู ปภาพแสดงการทํางานพร้อมคําบรรยาย, รายวิชาพื ้นฐานคอมพิวเตอร์ เบื ้องต้ นและสารสนเทศ

เรี ยบเรี ยงโดย อาจารย์นเรศร์ บุญเลิศ วท.บ.,คม.

วงจรการพัฒนาระบบ

275

ข้อมูลและไฟล์ที่จาํ เป็ น , คําอธิบายวิธีการทํางาน และสิ่งที่จะต้องแก้ไข. รายงานข้อมูลเฉพาะของ ปั ญหาของระบบขนาดกลางควรจะมีขนาดไม่เกิน 100-200 หน้ากระดาษ สรุป ขั้นตอนที่ 3 : การวิเคราะห์ ( Analysis) หน้าที่ : กําหนดความต้องการของระบบใหม่ (ระบบใหม่ท้งั หมดหรื อแก้ไขระบบเดิม) ผลลัพธ์ : รายงานข้อมูลเฉพาะของปั ญหา เครื่ องมือ : เทคนิคการเก็บรวบรวมข้อมูล , Data Dictionary, Data Flow Diagram, Process Specification, Data Model, System Model, Prototype, system Flowcharts บุคลากรและหน้ าที่รับผิดชอบ : ผู้ใช้ จะต้ องให้ ความร่ วมมือเป็ นอย่ างดี 1. วิเคราะห์ระบบ ศึกษาเอกสารที่มีอยู่ และศึกษาระบบเดิมเพือ่ ให้เข้าใจถึงขั้นตอนการทํางานและ ทราบว่าจุดสําคัญของระบบอยูท่ ี่ไหน 2. นักวิเคราะห์ระบบ เตรี ยมรายงานความต้องการของระบบใหม่ 3. นักวิเคราะห์ระบบ เขียนแผนภาพการทํางาน ( Diagram) ของระบบใหม่โดยไม่ตอ้ งบอกว่าหน้าที่ ใหม่ในระบบจะพัฒนาขึ้นมาได้อย่างไร 4. นักวิเคราะห์ระบบ เขียนสรุ ปรายงานข้อมูลเฉพาะของปั ญหา 5. ถ้าเป็ นไปได้นกั วิเคราะห์ระบบอาจจะเตรี ยมแบบทดลองด้วย ขั้นตอนที่ 4 : การออกแบบ (Design) ในระยะแรกของการออกแบบ นักวิเคราะห์ระบบจะนําการตัดสินใจ ของฝ่ ายบริ หารที่ได้จาก ขั้นตอนการวิเคราะห์การเลือกซื้ อคอมพิวเตอร์ ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ดว้ ย (ถ้ามีหรื อเป็ นไปได้) หลังจากนั้นนักวิเคราะห์ระบบจะนําแผนภาพต่างๆ ที่เขียนขึ้นในขั้นตอนการวิเคราะห์มาแปลงเป็ น แผนภาพลําดับขั้น (แบบต้นไม้) ดังรู ปข้างล่าง เพือ่ ให้มองเห็นภาพลักษณ์ที่แน่นอนของโปรแกรม ว่ามีความสัมพันธ์กนั อย่างไร และโปรแกรมอะไรบ้างที่จะต้องเขียนในระบบ หลังจากนั้นก็เริ่ ม ตัดสินใจว่าควรจะจัดโครงสร้างจากโปรแกรมอย่างไร การเชื่อมระหว่างโปรแกรมควรจะทํา อย่างไร ในขั้นตอนการวิเคราะห์นกั วิเคราะห์ระบบต้องหาว่า "จะต้องทําอะไร ( What)" แต่ใน ขั้นตอนการออกแบบต้องรู ้วา่ " จะต้องทําอย่างไร( How)" ในการออกแบบโปรแกรมต้องคํานึงถึงความปลอดภัย ( Security) ของระบบด้วย เพือ่ ป้ องกัน การผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้น เช่น "รหัส" สําหรับผูใ้ ช้ที่มีสิทธิ์สํารองไฟล์ขอ้ มูลทั้งหมด เป็ นต้น

รายวิชาพื ้นฐานคอมพิวเตอร์ เบื ้องต้ นและสารสนเทศ

เรี ยบเรี ยงโดย อาจารย์นเรศร์ บุญเลิศ วท.บ.,คม.

วงจรการพัฒนาระบบ

276

นักวิเคราะห์ระบบจะต้องออกแบบฟอร์มสําหรับข้อมูลขาเข้า ( Input Format) ออกแบบ รายงาน ( Report Format) และการแสดงผลบนจอภาพ ( Screen Fromat) หลักการการออกแบบ ฟอร์มข้อมูลขาเข้าคือ ง่ายต่อการใช้งาน และป้ องกันข้อผิดพลาดทีอ่ าจจะเกิดขึ้น ถัดมาระบบจะต้องออกแบบวิธีการใช้งาน เช่น กําหนดว่าการป้ อนข้อมูลจะต้องทําอย่างไร จํานวนบุคลากรที่ตอ้ งการในหน้าที่ต่างๆ แต่ถา้ นักวิเคราะห์ระบบตัดสินใจว่าการซื้อซอฟต์แวร์ ดีกว่าการเขียนโปรแกรม ขั้นตอนการออกแบบก็ไม่จาํ เป็ นเลย เพราะสามารถนําซอฟต์แวร์สาํ เร็จรู ป มาใช้งานได้ทนั ที สิ่งที่นกั วิเคราะห์ระบบออกแบบมาทั้งหมดในขั้นตอนทีก่ ล่าวมาทั้งหมดจะนํามา เขียนรวมเป็ นเอกสารชุดหนึ่งเรี ยกว่า " ข้อมูลเฉพาะของการออกแบบระบบ " ( System Design Specification) เมื่อสําเร็จแล้วโปรแกรมเมอร์สามารถใช้เป็ นแบบในการเขียนโปรแกรม ได้ทนั ที่ สําคัญก่อนที่จะส่งถึงมือโปรแกรมเมอร์เราควรจะตรวจสอบกับผูใ้ ช้วา่ พอใจหรื อไม่ และตรวจสอบ กับทุกคนในทีมว่าถูกต้องสมบูรณ์หรื อไม่ และแน่นอนที่สุดต้องส่งให้ฝ่ายบริ หารเพือ่ ตัดสินใจว่าจะ ดําเนินการ ต่อไปหรื อไม่ ถ้าอนุมตั ิก็ผา่ นเข้าสู่ข้นั ตอนการสร้างหรื อพัฒนาระบบ ( Construction) สรุปขั้นตอนที่ 4 : การออกแบบ ( Design) หน้าที : ออกแบบระบบใหม่เพือ่ ให้สอดคล้องกับความต้องการของผูใ้ ช้และฝ่ ายบริ หาร ผลลัพธ์ : ข้อมูลเฉพาะของการออกแบบ( System Design Specification) เครื่ องมือ : พจนานุกรมข้อมูล Data Dictionary, แผนภาพการไหลของข้อมูล ( Data Flow Diagram), ข้อมูลเฉพาะการประมวลผล ( Process Specification ), รู ปแบบข้อมูล ( Data Model), รู ปแบบระบบ ( System Model), ผังงานระบบ ( System Flow Charts), ผังงานโครงสร้าง (Structure Charts), ผังงาน HIPO (HIPO Chart), แบบฟอร์มข้อมูลขาเข้าและรายงาน บุคลากรและหน้าที่ : 1. นักวิเคราะห์ระบบ ตัดสินใจเลือกคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ (ถ้าใช้) 2. นักวิเคราะห์ระบบ เปลี่ยนแผนภาพทั้งหลายที่ได้จากขั้นตอนการวิเคราะห์มาเป็ นแผนภาพลําดับ ขั้น 3. นักวิเคราะห์ระบบ ออกแบบความปลอดภัยของระบบ 4. นักวิเคราะห์ระบบ ออกแบบฟอร์มข้อมูลขาเข้า รายงาน และการแสดงภาพบนจอ 5. นักวิเคราะห์ระบบ กําหนดจํานวนบุคลากรในหน้าที่ต่างๆและการทํางานของระบบ 6. ผูใ้ ช้ ฝ่ ายบริ หาร และนักวิเคราะห์ระบบ ทบทวน เอกสารข้อมูลเฉพาะของการออกแบบเพือ่ ความ ถูกต้องและสมบูรณ์แบบของระบบ รายวิชาพื ้นฐานคอมพิวเตอร์ เบื ้องต้ นและสารสนเทศ

เรี ยบเรี ยงโดย อาจารย์นเรศร์ บุญเลิศ วท.บ.,คม.

วงจรการพัฒนาระบบ

277

ขั้นตอนที่ 5 : การพัฒนาระบบ (Construction) ในขั้นตอนนี้โปรแกรมเมอร์จะเริ่ มเขียนและทดสอบโปรแกรมว่า ทํางานถูกต้องหรื อไม่ ต้อง มีการทดสอบกับข้อมูลจริ งที่เลือกแล้ว ถ้าทุกอย่างเรี ยบร้อย เราจะได้โปรแกรมที่พร้อมที่จะนําไปใช้ งานจริ งต่อไป หลังจากนั้นต้องเตรี ยมคู่มือการใช้และการฝึ กอบรมผูใ้ ช้งานจริ งของระบบ ระยะแรกในขั้นตอนนี้นกั วิเคราะห์ระบบต้องเตรี ยมสถานที่สาํ หรับ เครื่ องคอมพิวเตอร์แล้ว จะต้องตรวจสอบว่าคอมพิวเตอร์ทาํ งานเรี ยบร้อยดี โปรแกรมเมอร์เขียนโปรแกรมตามข้อมูลที่ได้จากเอกสารข้อมูลเฉพาะของการออกแบบ (Design Specification) ปกติแล้วนักวิเคราะห์ระบบไม่มีหน้าที่เกี่ยวข้องในการเขียนโปรแกรม แต่ ถ้าโปรแกรมเมอร์คิดว่าการเขียนอย่างอื่นดีกว่าจะต้องปรึ กษานักวิเคราะห์ระบบเสียก่อน เพือ่ ที่วา่ นักวิเคราะห์จะบอกได้วา่ โปรแกรมที่จะแก้ไขนั้นมีผลกระทบกับระบบทั้งหมดหรื อไม่ โปรแกรมเมอร์เขียนเสร็จแล้วต้องมีการทบทวนกับนักวิเคราะห์ระบบและผูใ้ ช้งาน เพือ่ ค้นหา ข้อผิดพลาด วิธีการนี้ เรี ยกว่า " Structure Walkthrough " การทดสอบโปรแกรมจะต้องทดสอบกับ ข้อมูลที่เลือกแล้วชุดหนึ่ง ซึ่งอาจจะเลือกโดยผูใ้ ช้ การทดสอบเป็ นหน้าที่ของโปรแกรมเมอร์ แต่ นักวิเคราะห์ระบบต้องแน่ใจว่า โปรแกรมทั้งหมดจะต้องไม่มีขอ้ ผิดพลาด หลังจากนั้นต้องควบคุมดูแลการเขียนคู่มือซึ่งประกอบด้วยข้อมูลการใช้งานสารบัญการ อ้างอิง "Help" บนจอภาพ เป็ นต้น นอกจากข้อมูลการใช้งานแล้ว ต้องมีการฝึ กอบรมพนักงานที่จะ เป็ นผูใ้ ช้งานจริ งของระบบเพือ่ ให้เข้าใจ และทํางานได้โดยไม่มีปัญหาอาจจะอบรมตัวต่อตัวหรื อ เป็ นกลุ่มก็ได้ สรุปขั้นตอนที่ 5 : การพัฒนาระบบ ( Construction) หน้าที่ : เขียนและทดสอบโปรแกรม ผลลัพธ์ : โปรแกรมที่ทดสอบเรี ยบร้อยแล้ว เอกสารคู่มือการใช้ และการฝึ กอบรม เครื่ องมือ : เครื่ องมือของโปรแกรมเมอร์ท้งั หลาย Editor, compiler,Structure Walkthrough, วิธีการ ทดสอบโปรแกรม การเขียนเอกสารประกอบการใช้งาน บุคลากรและหน้าที่ : 1. นักวิเคราะห์ระบบ ดูแลการเตรี ยมสถานที่และติดตั้งเครื่ องคอมพิวเตอร์ (ถ้าซื้อใหม่) 2. นักวิเคราะห์ระบบ วางแผนและดูแลการเขียนโปรแกรม ทดสอบโปรแกรม 3. โปรแกรมเมอร์เขียนและทดสอบโปรแกรม หรื อแก้ไขโปรแกรม ถ้าซื้อโปรแกรมสําเร็จรู ป รายวิชาพื ้นฐานคอมพิวเตอร์ เบื ้องต้ นและสารสนเทศ

เรี ยบเรี ยงโดย อาจารย์นเรศร์ บุญเลิศ วท.บ.,คม.

วงจรการพัฒนาระบบ

278

4. นักวิเคราะห์ระบบ วางแผนทดสอบโปรแกรม 5. ทีมที่ทาํ งานร่ วมกันทดสอบโปรแกรม 6. ผูใ้ ช้ตรวจสอบให้แน่ใจว่า โปรแกรมทํางานตามต้องการ 7. นักวิเคราะห์ระบบ ดูแลการเขียนคู่มือการใช้งานและการฝึ กอบรม ขั้นตอนที่ 6 : การปรับเปลี่ยน (Construction) ขั้นตอนนี้บริ ษทั นําระบบใหม่มาใช้แทนของเก่าภายใต้การดูแลของนักวิเคราะห์ระบบ การ ป้ อนข้อมูลต้องทําให้เรี ยบร้อย และในที่สุดบริ ษทั เริ่ มต้นใช้งานระบบใหม่น้ ีได้ การนําระบบเข้ามาควรจะทําอย่างค่อยเป็ นค่อยไปทีละน้อย ที่ดีที่สุดคือ ใช้ระบบใหม่ควบคู่ ไปกับระบบเก่าไปสักระยะหนึ่ง โดยใช้ขอ้ มูลชุดเดียวกันแล้วเปรี ยบเทียบผลลัพธ์วา่ ตรงกันหรื อไม่ ถ้าเรี ยบร้อยก็เอาระบบเก่าออกได้ แล้วใช้ระบบใหม่ต่อไป ขั้นตอนที่ 7 : บํารุงรักษา (Maintenance) การบํารุ งรักษาได้แก่ การแก้ไขโปรแกรมหลังจากการใช้งานแล้ว สาเหตุที่ตอ้ งแก้ไข โปรแกรมหลังจากใช้งานแล้ว สาเหตุที่ตอ้ งแก้ไขระบบส่วนใหญ่มี 2 ข้อ คือ 1. มีปัญหาใน โปรแกรม ( Bug) และ 2. การดําเนินงานในองค์กรหรื อธุรกิจเปลี่ยนไป จากสถิติของระบบที่พฒั นา แล้วทั้งหมดประมาณ 40% ของค่าใช้จ่ายในการแก้ไขโปรแกรม เนื่องจากมี " Bug" ดังนั้น นักวิเคราะห์ระบบควรให้ความสําคัญกับการบํารุงรักษา ซึ่งปกติจะคิดว่าไม่มีความสําคัญมากนัก เมื่อธุรกิจขยายตัวมากขึ้น ความต้องการของระบบอาจจะเพิม่ มากขึ้น เช่น ต้องการรายงาน เพิม่ ขึ้น ระบบที่ดีควรจะแก้ไขเพิม่ เติมสิ่งที่ตอ้ งการได้ การบํารุ งรักษาระบบ ควรจะอยูภ่ ายใต้การดูแลของนักวิเคราะห์ระบบ เมื่อผูบ้ ริ หารต้องการ แก้ไขส่วนใดนักวิเคราะห์ระบบต้องเตรี ยมแผนภาพต่าง ๆ และศึกษาผลกระทบต่อระบบ และให้ ผูบ้ ริ หารตัดสินใจต่อไปว่าควรจะแก้ไขหรื อไม่ สรุ ปวงจรการพัฒนาระบบ หน้าที่ ทําอะไร 1. เข้าใจปั ญหา 1. ตระหนักว่ามีปัญหาในระบบ 2. ศึกษาความเป็ นไปได้ 1. รวบรวมข้อมูล รายวิชาพื ้นฐานคอมพิวเตอร์ เบื ้องต้ นและสารสนเทศ

เรี ยบเรี ยงโดย อาจารย์นเรศร์ บุญเลิศ วท.บ.,คม.

วงจรการพัฒนาระบบ

279

2. คาดคะเนค่าใช้จ่าย ผลประโยชน์และอื่น 3. วิเคราะห์

3. ตัดสินใจว่าจะเปลี่ยนแปลงระบบหรื อไม่ 1. ศึกษาระบบเดิม 2. กําหนดความต้องการของระบบ 3. แผนภาพระบบเก่าและระบบใหม่

4. ออกแบบ

4. สร้างระบบทดลองของระบบใหม่ 1. เลือกซื้อคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ 2. เปลี่ยนแผนภาพจากการวิเคราะห์เป็ นแผนภาพ ลําดับขั้น 3. คํานึงถึงความปลอดภัยของระบบ 4. ออกแบบ Input และ Output

5. พัฒนา

5. ออกแบบไฟล์ฐานข้อมูล 1. เตรี ยมสถานที่ 2. เขียนโปรแกรม 3. ทดสอบโปรแกรม

6. นํามาใช้งานจริ ง

4. เตรี ยมคู่มือการใช้และฝึ กอบรม 1. ป้ อนข้อมูล

7. บํารุ งรักษา

2. เริ่ มใช้งานระบบใหม่ 1. เข้าใจปั ญหา 2. ศึกษาสิ่งที่จะต้องแก้ไข

รายวิชาพื ้นฐานคอมพิวเตอร์ เบื ้องต้ นและสารสนเทศ

เรี ยบเรี ยงโดย อาจารย์นเรศร์ บุญเลิศ วท.บ.,คม.

วงจรการพัฒนาระบบ

280

3. ตัดสินใจว่าจะแก้ไขหรื อไม่ 4. แก้ไขเอกสาร คู่มือ 5. แก้ไขโปรแกรม 6. ทดสอบโปรแกรม 7. ใช้งานระบบที่แก้ไขแล้ว 3.3 หลักความสําเร็จของการพัฒนาระบบงาน หลักการที่ 1 : ระบบเป็ นของผูใ้ ช้ นักวิเคราะห์ระบบและโปรแกรมเมอร์ควรจะระลึกเสมอว่า ระบบเป็ นของผูใ้ ช้ระบบซึ่งจะ เป็ นผูน้ าํ เอาผลของระบบดังกล่าวมาก่อให้เกิดประโยชน์ต่อธุรกิจของเขา แม้วา่ นักวิเคราะห์ระบบ และโปรแกรมเมอร์จะทํางานอย่างหนักเพือ่ ที่จะนําเอาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มาสร้าง เป็ น ระบบงานคอมพิวเตอร์ก็ตาม แต่ไม่ลืมว่าระบบงานคอมพิวเตอร์มีจุดยืนจุดเดียวกัน คือ เกิดขึ้นมา เพือ่ แก้ไขปั ญหาให้กบั ผูใ้ ช้หรื อธุรกิจ ดังนั้น ผูใ้ ช้ระบบจึงมีส่วนสําคัญที่จะผลักดันให้การพัฒนา ระบบงานเป็ นไปอย่างถูกต้อง และ เพือ่ ตอบสนองกับความต้องการ นักวิเคราะห์ระบบจะต้อง จะต้องนําเอาความเห็นของผูใ้ ช้ระบบมาเกี่ยวข้อง ในทุกขั้นตอนของการพัฒนาหรื ออีกนัยหนึ่งคือ ในวงจรการพัฒนาระบบงานและโครงการ ( SDLC) จะต้องมีบทบาทของผูใ้ ช้ระบบอยูเ่ สมอทุก ขั้นตอน หลักการที่ 2 : ทําการจัดตั้งและแบ่งกลุ่มของระบบหรื อโครงการออกเป็ นกลุ่มงานย่อย โดยทัว่ ไป วงจรการพัฒนาระบบงานและโครงการ ( SDLC) ได้จดั แบ่งขั้นตอนของการ ทํางานเป็ นหลักอยูแ่ ล้วดังนี้ 1. ขั้นตอนการวิเคราะห์ระบบงาน ( System Analysis) 2. ขั้นตอนการดีไซน์และวางระบบงาน ( System Design) 3. ขั้นตอนการนําระบบงานเข้าสู่ธุรกิจเพือ่ ใช้ปฏิบตั ิงานจริ ง ( System imple- mentation) 4. ขั้นตอนการติดตามและดําเนินการภายหลังการติดตั้งระบบงาน ( System support)

รายวิชาพื ้นฐานคอมพิวเตอร์ เบื ้องต้ นและสารสนเทศ

เรี ยบเรี ยงโดย อาจารย์นเรศร์ บุญเลิศ วท.บ.,คม.

วงจรการพัฒนาระบบ

281

สาเหตุที่มีการจัดแบ่งกลุ่มงานให้เล็กลงและเป็ นลําดับขั้น ก็เพือ่ ที่จะให้นกั บริ หารโครงการหรื อ ผูพ้ ฒั นาระบบงานสามารถที่จะควบคุมความคืบหน้าของ การพัฒนาระบบได้อย่างใกล้ชิดและ สามารถที่จะกําหนดและควบคุมระยะเวลาที่ใช้ในการพัฒนาระบบได้ดีข้ ึนอีกด้วย หลักการที่ 3 : ขั้นตอนการพัฒนาระบบงานไม่ใช่แบบอนุกรม ( sequential process) ความหมายของหลักการนี้คือ เมื่อเราเข้าสู่วงจรการพัฒนาระบบ SDLC แล้ว เราไม่จาํ เป็ นที่ จะทําขั้นที่ 1 คือ system analysis ให้เสร็จเรี ยบร้อยเสี ยก่อน แล้วจึงค่อยทําขั้นที่ 2 คือ system design หรื อต้องทําขั้นที่ 2 เสร็ จค่อยทําขั้นที่ 3 เรื่ อยไป การทําแบบนี้จะทําให้เราใช้ระยะเวลามากขึ้นในการ พัฒนาระบบงานหนึ่งๆ

ขั้นตอนการพัฒนาระบบงานสามารถที่จะทําซ้อน ( overlap) กันได้ เช่น เมื่อได้ทาํ การวิเคราะห์ระบบงาน ไปได้ระยะหนึ่ง นักวิเคราะห์ระบบก็สามารถที่จะนําเอาผลการวิเคราะห์น้ นั ไปดีไซน์หรื อวางระบบงานได้ก่อน โดยไม่ตอ้ งรอให้ข้นั ตอน การวิเคราะห์เสร็ จสมบูรณ์จึงค่อยดีไซน์ ดังตัวอย่างในรู ปที่ 1 ซึ่งแสดงให้เป็ นว่า ขณะที่กิจกรรมในขั้นตอนการวิเคราะห์ซ่ ึงใช้เวลาประมาณ 2 สัปดาห์ครึ่ งยังไม่เสร็ จสิ้น ในสัปดาห์ที่ 2 ก็ สามารถจะเริ่ มขั้นตอนการดีไซน์ระบบได้ อย่างไรก็ตาม การทําเช่นนี้จะต้องตั้งอยูใ่ นความเหมาะสมด้วย โดย ในบางครั้งบางขั้นตอนอาจจําเป็ นที่จะต้องรอให้เสร็จสมบูรณ์ก่อนแล้วจึงค่อยดําเนินในขั้นถัดไป จากรู ปที่ 1 จะ แสดงให้เห้นว่าการติดตั้งระบบอาจจําเป็ น ต้องรอให้ข้นั ตอนการดีไซน์ระบบเสร็จสิ้นลงเสียก่อนแล้วจึงค่อย ดําเนินการต่อไป หลักการที่ 4 : ระบบงานข้อมูลถือเป็ นการลงทุนอย่างหนึ่ง การพัฒนาระบบงานหนึ่งๆก็ถือว่าเป็ นการลงทุนอย่างหนึ่ง ซึ่งไม่แตกต่างจากที่เราลงทุนซื้อรถ เพือ่ มา ขนส่งสินค้าหรื อซื้อเครื่ องจักรมาเพือ่ ทําการผลิต

รายวิชาพื ้นฐานคอมพิวเตอร์ เบื ้องต้ นและสารสนเทศ

เรี ยบเรี ยงโดย อาจารย์นเรศร์ บุญเลิศ วท.บ.,คม.

วงจรการพัฒนาระบบ

282

เมื่อระบบงานถือว่าเป็ นการลงทุนชนิดหนึ่ง สิ่งที่นกั วิเคราะห์ระบบจะต้องคํานึงก็คือทางเลือกต่างๆที่จะ นําเงินไปลงทุน ซึ่งหมายถึงว่านักวิเคราะห์ระบบควรคิดถึงทางเลือก ของการพัฒนาระบบงานในหลายๆงาน และพิจารณาถึงความเป็ นไปได้ต่างๆ รวมถึงการเปรี ยบเทียบต้นทุนและผลกําไรที่จะเกิดจากระบบงาน ว่าระบบ นั้นๆ คุม้ ค่าหรื อไม่อย่างไร ยกตัวอย่าง เช่น นักวิเคราะห์กาํ ลังรับทําระบบงานสําหรับร้านให้เช่าวิดีโอร้านหนึ่ง ซึ่งเป็ นร้านเล็กๆ มีรายได้ประมาณ 10,000 บาทต่อเดือน เขาตัดสินใจแนะนําให้ร้านนั้นซื้อคอมพิวเตอร์ราคา 2 ล้านบาท ซึ่งเขาจะพัฒนาระบบงานให้ โดยจะเสี ยค่าใช้จ่ายอีกประมาณ 3 แสนบาท ลักษณะแบบนี้ท่านจะเห็น ได้ชดั ว่า การตัดสินใจลงทุนแบบนี้ไม่คุม้ ค่าแน่ นักวิเคราะห์ควรจะทําการวิเคราะห์หาทางเลือกที่เหมาะสมและ นําเสนอต่อผูใ้ ช้โดยให้มีขอ้ มูล ในการเปรี ยบเทียบถึงข้อดีขอ้ เสียต่างๆ เพือ่ ผูใ้ ช้ระบบสามารถที่จะออกความเห็น หรื อปรึ กษาหารื อเพือ่ หาข้อยุติที่เหมาะสมต่อไป หลักการที่ 5 : อย่ากลัวที่จะต้องยกเลิก ในทุกขั้นตอนของการพัฒนาระบบงานจะมีการศึกษาถึงความเป็ นไปได้ (feasibility study) ของระบบงาน ดังนั้นในทุกขั้นตอน นักวิเคราะห์ระบบจะมีโอกาสเสมอที่จะตัดสินใจว่าจะให้ระบบงานนั้นดําเนินต่อไปหรื อ ยกเลิก แน่นอนที่วา่ ความรู ้สึกที่จะต้องยกเลิกงานที่ทาํ มาอย่างยากเย็นนั้น จะต้องไม่ดีแน่ และคงไม่มีใครอยาก สัมผัสเหตุการณ์เช่นนี้ แต่อย่างไรก็ดี เมื่อการพัฒนาระบบงานไม่สามารถจะทําให้เป็ นไปตามความต้องการของ ผูใ้ ช้ระบบ การเริ่ มต้นทําใหม่หรื อยกเลิกโครงการนั้นอาจเป็ นสิ่งจําเป็ น จากประสบการณ์ที่เคยได้เห็นได้ยนิ มา มีอยูห่ ลายโครงการในสหรัฐอเมริ กาที่ตอ้ งยกเลิกไป และอีกหลายโครงการที่ยงั ดันทุรังที่จะให้อยูแ่ ต่ไม่สามารถ จะทําได้ ข้อเสียที่เห็นได้ชดั ในความกลัวที่จะต้องยกเลิกก็คือ โครงการหรื อระบบงานนั้นสุดท้ายก็ตอ้ งพังลง และดันทุรังที่จะให้ฟ้ื นคืนชีพ มักจะใช้เงินลงทุนเพิม่ ขึ้น ใช้เวลาเพิม่ ขึ้นและใช้คนเพิม่ ขึ้น ทําให้งบประมาณเกิด บานปลาย และไม่สามารถควบคุมได้ หลักการที่ 6 : ในทุกขั้นตอนของการพัฒนาจะต้องมีการจัดทําเอกสารเพือ่ ใช้อา้ งอิงเสมอ การขาดการจัดทําเอกสารมักจะส่งผลให้เกิดข้อผิดพลาดต่อระบบงานและต่อนักวิเคราะห์ระบบด้วย การ จัดทําเอกสารมักจะถูกมองข้ามไป และเห็นว่าเป็ นสิ่งที่ทาํ ให้เสี ยเวลาแม้กระทัง่ การเขียนโปรแกรมซึ่ง สามารถ จะแทรกคําอธิบายเล็กๆน้อยๆว่าโปรแกรมในส่วนนั้นๆทําอะไร ก็ยงั ไม่มีใครทําสักเท่าไรซึ่งการขาดการทํา เอกสารเช่นนี้ จะทําให้การบํารุ งรักษาหรื อติดตามระบบเป็ นไปได้ยาก ทําให้ยากต่อการแก้ไข การจัดทําเอกสาร จะหมายรวมถึงการบันทึกเหตุการณ์ต่างๆ และแนวความคิด รวมทั้งข้อสรุ ปที่เกิดขึ้นใน แต่ละขั้นตอนของการพัฒนาระบบงานและโครงการ ไม่ใช่จะเอาแค่รหัสต้นกําเนิด ( source code) ของแต่ระบบ รายวิชาพื ้นฐานคอมพิวเตอร์ เบื ้องต้ นและสารสนเทศ

เรี ยบเรี ยงโดย อาจารย์นเรศร์ บุญเลิศ วท.บ.,คม.

วงจรการพัฒนาระบบ

283

เท่านั้น การวิเคราะห์ และออกแบบระบบ

ความรู ้ในการวิเคราะห์และออกแบบระบบมีความสําคัญ เพราะเป็ นปั จจัยในการสร้างและพัฒนาระบบสารส วิเคราะห์ระบบเป็ นเรื่ องที่น่าสนใจ เพราะนักวิเคราะห์ระบบต้องติดต่อกับคนหลายคน ได้รู้ถึงการจัดการและการทํางา ทําให้เรามีความรู ้เกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์หลายแบบมากขึ้น ผูท้ ี่สามารถวิเคราะห์ระบบได้ดี ควรมีประสบการณ์ใน โปรแกรม มีความรู ้ทางด้านธุรกิจ ความรู ้เกี่ยวกับระบบเครื อข่ายและฐานข้อมูล ซึ่งใช้เป็ นความรู ้ในการออกแบบระบ แตกต่างกันออกไปตาม สภาพงาน ดังนั้น หน้าที่ของนักวิเคราะห์ ก็คือการศึกษาระบบ แล้วให้คาํ แนะนําในการปรับป ระบบนั้นจนเสร็จสมบูรณ์ ซึ่ งการทํางานทั้งหมดต้องมีลาํ ดับขั้นตอนและการศึกษาวิธีการวิเคราะห์และการออกแบบร ขั้นตอน ทําให้เข้าใจการวิเคราะห์ระบบนั้นๆ ดียงิ่ และสามารถออกแบบระบบใหม่โดยไม่ยากเย็นนัก โดยสามารถตัด ระบบใหม่ควรใช้คอมพิวเตอร์ประเภทไหน ใช้โปรแกรมอะไร ออกแบบInput/Output อย่างไรเป็ นต้น ระบบ

ระบบคือกลุ่มขององค์ประกอบต่างๆ ที่ทาํ งานร่ วมกันเพือ่ จุดประสงค์อนั เดียวกัน ระบบอาจจะประกอบด้วย บุคค เครื่ องมือ เครื่ องใช้ พัสดุ วิธีการ ซึ่งทั้งหมดนี้จะต้องมีระบบจัดการอันหนึ่ง เพือ่ ให้บรรลุจุดประสงค์อนั เดียวกัน เช่น ร การสอน มีจุดประสงค์เพือ่ ให้นกั เรี ยนได้รับความรู ้ในเนื้ อหาวิชาที่สอน การจัดการข้ อมูล

วงจรการพัฒนาระบบ (System Development Lift Cycle-SDLC) ระบบสารสนเทศทั้งหลายมีวงจรชีวิตที่เหม เกิดจนตาย วงจรนี้จะเป็ นขั้นตอนที่เป็ นลําดับตั้งแต่ตน้ จนเสร็ จเรี ยบร้อยเป็ นระบบที่ใช้งานได้ ซึ่งนักวิเคราะห์ระบบ ต เข้าใจให้ดีวา่ ในแต่ละขั้นตอนจะต้องทําอะไร และทําอย่างไร ขั้นตอนการพัฒนาระบบมีอยูด่ ว้ ยกัน 7 ขั้นตอนคือ 1. เข้าใจปั ญหา (Problem Recognition) 2. ศึกษาความเป็ นไปได้ (Feasibility Study) 3. วิเคราะห์ (Analysis) 4. ออกแบบ (Design) 5. สร้าง หรื อพัฒนาระบบ (Construction) 6. การปรับเปลี่ยน (Conversion) 7. บํารุ งรักษา (Maintenance

รายวิชาพื ้นฐานคอมพิวเตอร์ เบื ้องต้ นและสารสนเทศ

เรี ยบเรี ยงโดย อาจารย์นเรศร์ บุญเลิศ วท.บ.,คม.

วงจรการพัฒนาระบบ

284

การวิเคราะห์

การวิเคราะห์ระบบในวงจรการพัฒนาระบบนั้น เริ่ มต้นจากการศึกษาระบบเดิม แล้วนําข้อมูลทีไ่ ด้จากการศึกษามาหาค (Requirements)หรื อสิ่งที่จะต้องปรับปรุ งในระบบ หรื ออีกอย่างหนึ่งคือวิธีแก้ปัญหาของระบบ การวิเคราะห์จะเริ่ มหล ปั ญหา และผ่านขั้นตอนการศึกษาความเป็ นไปได้แล้ว

รวบรวมข้อมูล การศึกษาระบบเดิมนั้น นักวิเคราะห์ระบบ เริ่ มต้นจากการศึกษาเอกสารต่างๆ เช่น คู่มือต่างๆ หลังจ การรวบรวมแบบฟอร์มและรายงานต่างๆ เช่น ในระบบบัญชีเจ้าหนี้ จะมีแบบฟอร์มใบบรรจุผลิตภัณฑ์ ใบทวงหนี้ ราย เตรี ยมเงินสดเป็ นต้น นอกจากนั้นจะต้องคอยสังเกตดูการทํางานของผูท้ ี่เกี่ยวข้องในระบบที่ศึกษา ท้ายที่สุดอาจจะต้อง สัมภาษณ์ผทู ้ ี่มีหน้าที่ รับผิดชอบงานที่เกี่ยวข้องในระบบ หรื อบางกรณี อาจจะต้องใช้แบบสอบถามมาช่วยเก็บข้อมูลดว ทั้งหมดเรี ยกว่า เทคนิคการเก็บรวบรวมข้อมูล (Fact Gathering Techniques)

คําอธิบายข้อมูล (Data Description) เมื่อนักวิเคราะห์ระบบศึกษาระบบมากเข้าจะพบว่า มีขอ้ มูลมากมายที่ตอ้ งจัดใ หมวดหมู่ เช่น ข้อมูลของลูกค้าคนหนึ่งจะรวมข้อมูลรายละเอียดอื่นๆ เช่น เลขที่ลูกค้า ชื่อ ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ การจ่าย สินค้าเป็ นต้น ทั้งหมดเป็ นเพียงไฟล์เดียวเท่านั้น ในกรณี หลายๆ ไฟล์จะต้องมีวธิ ีเก็บเพือ่ ความเป็ นระเบียบในการติดต ข้อมูลเครื่ องมือที่ช่วยเก็บคําอธิบายข้อมูลก็คือ พจนานุกรมข้อมูล (Data Dictionary)

คําอธิบายวิธีการ(Procedure Description) กรรมวิธีที่ติดตามการเปลี่ยนแปลงของข้อมูลจะต้องรู ้วา่ ข้อมูลผ่านการป อย่างไรบ้าง คือทราบว่า "ทําอะไร" บ้างในระบบ และมีวธิ ีการอย่างไร เช่น การจ่ายเงินเจ้าหนี้ เรามีกฎเกณฑ์หรื อวิธีกา ในการตัดสินใจว่า จะจ่ายให้ใครก่อนหลัง ซึ่งวิธีการบางอย่างมีรายละเอียดไม่มากนัก เช่น ถ้าลูกค้าสัง่ ซื้อของเรา เพียง ของในสต็อกเพียงพอกับจํานวนที่ลูกค้าสัง่ หรื อไม่ ซึ่งเราจําได้ทนั ทีวา่ จะต้องทําอะไร แต่กรณี ที่วธิ ีการตัดสินใจมีรายล มากขึ้นตัวอย่าง เช่น การจ่ายเงินเจ้าหนี้ จะมีหลายขั้นตอนได้แก่ จํานวนเงินมากน้อยแค่ไหน ถ้ามากเกินไปต้องรออนุม ถ้าไม่เกินจํานวนกําหนดก็มาเช็คว่ามีส่วนลดหรื อไม่ หรื อจํานวนวันที่คา้ งจ่ายว่านานแค่ไหนเป็ นต้น ซึ่งการตัดสินใจม และรายละเอียดมากเกินกว่าที่จะจําได้

รายวิชาพื ้นฐานคอมพิวเตอร์ เบื ้องต้ นและสารสนเทศ

เรี ยบเรี ยงโดย อาจารย์นเรศร์ บุญเลิศ วท.บ.,คม.

วงจรการพัฒนาระบบ

285

รู ปที่ 6.2 DFD ของระบบเงิน รายละเอียดของวิธีการต่างๆ เหล่านี้ อาจจะเขียนหรื อร่ ายยาวเป็ นเรี ยงความเรื่ องหนึ่งก็ได้ แต่ก็มี ปั ญหาว่าเก็บรายละเอียดไม่ได้ครบถ้วน ลองเปรี ยบเทียบกับสถาปนิกออกแบบบ้านโดยอธิบาย รายละเอียดได้ครบถ้วนและเห็นภาพลักษณ์อย่างชัดเจนด้วย สําหรับ นักวิเคราะห์ก็ใช้วธิ ีเขียนแบบ เข้ามาช่วยเหมือนกัน การเขียนแบบเพือ่ อธิบายวิธีการต่างๆที่ใช้ในระบบ ช่วยในการติดตามการ เปลี่ยนแปลงของข้อมูลเรี ยกว่าแผนภาพแสดงกระแสข้อมูล (Data Flow Diagram : DFD)

ความหมายและบทบาทของนักวิเคราะห์ ระบบ ความหมายการวิเคราะห์ ระบบ ระบบคือกลุ่มขององค์การต่างๆ ที่ทาํ งานร่ วมกันเพือ่ จุดประสงค์อนั เดียวกัน ระบบอาจจะ ประกอบด้วยบุคคลากร เครื่ องมือ เครื่ องใช้ พัสดุ วิธีการ ซึ่งทั้งหมดนี้จะต้องมีระบบจัดการอันหนึ่ง เพือ่ ให้บรรลุจุดประสงค์อนั เดียวกัน ตัวอย่างเช่น ในร่ างกายคนเราจะมีระบบในตัวคือมี ความสัมพันธ์ติดต่อกันระหว่างสอง เส้นประสาท เซลล์รับรู ้ความรู ้สึก เพือ่ บรรลุเป้ าหมายในการ รับรู ้ความรู ้สึกร้อนหนาว เป็ นต้น ในการใช้ภาษาก็ถือทําอย่างเป็ นระบบนัน่ ระบบนัน่ คือ ความสัมพันธ์ติดต่อกันระหว่าง การใช้คาํ สัญลักษณ์ต่างๆ เพือ่ บรรลุเป้ าหมายในการตีความให้ เข้าใจภาษานั้นๆ ในธุรกิจก็เป็ นระบบอย่างหนึ่ง ซึ่งมีส่วนประกอบคือ การตลาด โรงงาน การขาย การค้นคว้า การขนส่ง การเงิน บุคคล การทํางาน โดยที่ท้งั หมดมีการติดต่อสัมพันธ์ระหว่างกัน เพือ่ ให้บรรลุเป้ าหมายให้เกิดกําไร รายวิชาพื ้นฐานคอมพิวเตอร์ เบื ้องต้ นและสารสนเทศ

เรี ยบเรี ยงโดย อาจารย์นเรศร์ บุญเลิศ วท.บ.,คม.

วงจรการพัฒนาระบบ

286

องค์ประกอบของระบบการเรียนการสอน 1. บุคคลากรได้แก่ ครู และนักเรี ยน 2. เครื่ องมือได้แก่ เครื่ องฉายแผ่นใส ชอล์ก กระดานดํา 3. พัสดุได้แก่ โต๊ะ เก้าอี้ 4. วิธีการได้แก่ เขียนบนกระดานดํา ใช้แผ่นใส หรื ออื่นๆ 5. การจัดการได้แก่ โรงเรี ยนจัดตารางเรี ยน เก็บเงินค่าเล่าเรี ยน จ่ายค่าสอนให้แก่ครู เมื่อเราศึกษา ระบบใดระบบหนึ่ง เราควรจะต้องเข้าใจการทํางานของระบบนั้นให้ดีโดย การถามตัวเองตลอดเวลา ด้วยคําถามเหล่านี้ 1. ระบบทําอะไร ( What ) 2. ทําโดยใคร ( Who ) 3. ทําเมื่อไร ( When ) 4. ทําอย่างไร ( How ) การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบ ( System Analysis and Design) การวิเคราะห์และออกแบบระบบคือ วิธีการที่ใช้ในการสร้างระบบสารสนเทศขึ้นมาใหม่ ในธุรกิจใดธุรกิจหนึ่ง หรื อระบบย่อยของธุรกิจ นอกจากการสร้างระบบสารสนเทศใหม่แล้ว การ วิเคราะห์ระบบช่วยในการแก้ไขระบบสารสนเทศเดิมที่มีอยูแ่ ล้วให้ดีข้ ึนด้วยก็ได้ การวิเคราะห์ ระบบคือ การหาความต้องการ ( Requirements) ของระบบสารสนเทศว่าคืออะไร หรื อต้องการ เพิม่ เติมอะไรเข้ามาในระบบและการออกแบบก็คือ การนําเอาความต้องการของระบบมาเป็ นแบบ แผนหรื อเรี ยกว่าพิมพ์เขียว ในการสร้างระบบสารสนเทศนั้นให้ใช้ในงานได้จริ ง ผูท้ ี่ทาํ หน้านี้ ก็คือ นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ ( System Analysis : SA ) นักวิเคราะห์ระบบคือใคร ? คอมพิวเตอร์ เป็ นเพียงเครื่ องมือที่ใช้สาํ หรับเก็บรวบรวมและประมวลผลให้กบั ผูใ้ ช้โดยให้ประโยชน์ต่อผูใ้ ช้คือ ความรวดเร็วและความถูกต้องของข้อมูล ซึ่งเป็ นหัวใจสําคัญต่อการบริ หารของธุรกิจในปั จุบนั ที่มี การแข่งขันสูง ผูใ้ ช้ ( Users ) จึงเป็ นผูก้ าํ หนดปั ญหาและแนวทางของระบบงานที่นาํ มา แก้ไขซึ่ง ปั ญหาแต่ผใู ้ ช้เองไม่ทราบวิธีจะนําเอาคอมพิวเตอร์มาใช้แก้ปัญหา หรื อช่วยเหลือในการบริ หาร ในทางตรงกันข้ามโปรแกรมเมอร์ ( programmers) และช่างเทคนิค ( technicians) เป็ นผูท้ ี่สามารถ จะใช้เทคโนโลยีของคอมพิวเตอร์และป้ อนคําสัง่ ให้คอมพิวเตอร์ทาํ งานได้ตอ้ งการ แต่ โปรแกรมเมอร์หรื อช่างเทคนิคมักจะไม่เข้าใจถึงระบบธุรกิจมากนัก ดังนั้น ช่องว่างระหว่างนัก ธุรกิจหรื อระบบงานในหน่วยงานต่างๆ กับโปรแกรมเมอร์หรื อกับช่างเทคนิคจึงอาจเกิดขึ้นได้ นักวิเคราะห์ระบบจึงทําหน้าที่เป็ นผูส้ มานช่องว่างนี้ นักวิเคราะห์ระบบเป็ นผูท้ ี่เกี่ยวข้องโดยตรงที่ จะนําเอาความเข้าใจและเทคโนโลยีของคอมพิวเตอร์มาใช้ ในการพัฒนาระบบงานข้อมูลเพือ่ ช่วย รายวิชาพื ้นฐานคอมพิวเตอร์ เบื ้องต้ นและสารสนเทศ

เรี ยบเรี ยงโดย อาจารย์นเรศร์ บุญเลิศ วท.บ.,คม.

วงจรการพัฒนาระบบ

287

แก้ปัญหาให้กบั งานในหน่วยงานต่างๆ 1.2 บทบาทของนักวิเคราะห์ ระบบ นักวิเคราะห์ระบบจะเป็ นผูท้ ี่ศึกษาถึงปั ญหาและความต้องการของนักธุรกิจ โดยนําเอา ปั จจัย 3 ประการ คือ คน ( people ) วิธีการ ( method ) และคอมพิวเตอร์เทคโนโลยี ( computer technology ) ใช้ในการปรับปรุ งหรื อแก้ปัญหาให้กบั นักธุรกิจ เมื่อได้มีการนําเอาพัฒนาการทาง เทคโนโลยีของคอมพิวเตอร์มาใช้ นักวิเคราะห์ระบบจะต้องรับผิดชอบถึงการกําหนดลักษณะของ ข้อมูล ( data ) ที่จะจัดเก็บเข้าสู่ ระบบงานคอมพิวเตอร์ การหมุนเวียน การเปลี่ยนแปลงของข้อมูล และระยะเวลาเพือ่ ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อผูใ้ ช้หรื อธุรกิจ ( business users ) นักวิเคราะห์ระบบ ไม่ได้เพียงวิเคราะห์หรื อดีไซน์ระบบงานเท่านั้น หากแต่ยงั ขายบริ การทางด้านระบบงานข้อมูล โดย นําเอาประโยชน์จากเทคโนโลยีล่าสุดมาใช้ควบคู่กนั ไปด้วย จากบทบาทของนักวิเคราะห์ระบบที่ กล่าวมาแล้วข้างต้น ทําให้นกั วิเคราะห์ระบบจะต้องมีความรู ้ท้งั ทางภาคธุรกิจหรื อการดําเนินงาน ในหน่วยงานต่างๆ และคอมพิวเตอร์ควบคู่กนั นักวิเคราะห์ระบบโดยส่ วนใหญ่สามารถที่จะดีไซน์ ระบบงานและเขียนโปรแกรมขึ้นได้ดว้ ยตัวเอง ส่ วนนี้เองกลับทําให้บุคคลภายนอกเกิดความสับสน ระหว่างโปรแกรมเมอร์กบั นักวิเคราะห์ระบบ 1.3 ความแตกต่ างระหว่ างโปรแกรมเมอร์ และนักวิเคราะห์ ระบบ โปรแกรมเมอร์ ( programmer ) หมายถึงบุคคลที่รับผิดชอบในด้านการเขียนโปรแกรม สิ่งที่ เขาจะเชื่อมโยงนั้น ได้แก่ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบตั ิ ( Operating System :OS ) หรื อ แม้กระทัง่ ภาษาที่ใช้ในการเขียน เช่น COBOL, BASIC และ C++ งานของโปรแกรมเมอร์จะเป็ นไป ในลักษณะที่มีขอบเขต ที่แน่นอนคือโปรแกรมที่เขาเขียนขึ้นนั้นถูกต้องตามจุดประสงค์หรื อไม่ กิจกรรมงานของโปรแกรมจะเกี่ยวข้องกับคนจํานวนน้อย เช่น กับโปรแกรมเมอร์ดว้ ยกันเอง หรื อ กับนักวิเคราะห์ระบบที่เป็ นผูว้ างแนวทางของระบบให้แก่เขา นักวิเคราะห์ระบบ หรื อที่เรี ยกกัน ย่อๆ ว่า SA (SYSTEM ANALYSIS) นั้น นอกจากจะต้องรับผิดชอบต่อการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ แล้ว ยังจะต้องรับผิดชอบงานในส่วนที่เกี่ยวกับการจัดหาอุปกรณ์ต่างๆ เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ผูท้ ี่จะ ใช้ระบบแฟ้ มหรื อฐานข้อมูลต่างๆ รวมทั้งข้อมูลดิบที่จะป้ อนเข้าระบบงานของนักวิเคราะห์ระบบ ไม่ได้อยูใ่ นลักษณะที่แน่นอนแบบโปรแกรมเมอร์ ไม่มีคาํ ตอบที่แน่นอนจากระบบที่เขาวางไม่วา่ ผิดหรื อถูก งานของเขาเกิดจากการประนีประนอมและผสมผสานของปั จจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ รายวิชาพื ้นฐานคอมพิวเตอร์ เบื ้องต้ นและสารสนเทศ

เรี ยบเรี ยงโดย อาจารย์นเรศร์ บุญเลิศ วท.บ.,คม.

วงจรการพัฒนาระบบ

288

ระบบงาน คือ ผูใ้ ช้ วิธีการ เทคโนโลยี และอุปกรณ์จนได้ผลลัพธ์ที่เหมาะสมออกมาเป็ นระบบงาน (APPLICATION SYSTEM) งานของนักวิเคราะห์ระบบจึงมักจะต้องเกี่ยวข้องกับคนหลายระดับ ตั้งแต่ลูกค้าหรื อผูใ้ ช้ นักธุรกิจ โปรแกรมเมอร์ ผูต้ รวจสอบบัญชีหรื อแม้กระทัง่ เซลล์แมนที่ขาย ระบบงานข้อมูล แม้วา่ งานของนักวิเคราะห์ระบบจะดูเป็ นงานที่ยากและซับซ้อน แต่งานในลักษณะ นี้ก็เป็ นงานที่ทา้ ทายให้กบั บุคคลที่มีความคิดสร้างสรรค์และกว้างไกลเข้ามาอยูเ่ สมอ ความรู ้สึก ภาคภูมิใจที่ได้วางระบบงานออกมาเป็ นรู ปร่ างและสามารถ ใช้ปฏิบตั ิได้จริ ง จะฝังอยูใ่ นสํานึกของ เขาตลอดเวลา ความรู ้สึกอันนี้คงจะถ่ายทอดออกมาเป็ นตัวหนังสือไม่ได้ แต่จะทราบกันเองในหมู่ ของนักวิเคราะห์ระบบด้วยกัน เพือ่ ให้เข้าใจความหมายของนักวิเคราะห์ระบบมากยิง่ ขึ้น ตารางที่ 1 จะแสดงให้เห็นรายละเอียดของหน้าที่ของนักวิเคราะห์ระบบ Job Description

ตําแหน่ งงาน : นักวิเคราะห์ ระบบ รายละเอียดของงาน : 1. รวบรวมและวิเคราะห์ขอ้ มูลเพือ่ พัฒนาระบบงานข้อมูล ( INFORMATION SYSTEM) รับผิดชอบในการศึกษาถึงปั ญหาและความต้องการของธุรกิจ เพือ่ ที่จะหาทางนําเอาอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ วิธีการทางธุรกิจ รวมถึงบุคลากรต่างๆ มาใช้ในการพัฒนาเพือ่ หาทางแก้ไขซึ่งปั ญหา และบรรลุถึงความต้องการของธุรกิจนั้นๆ 2. ดีไซต์และจัดวางระบบฐานข้อมูล รวมทั้งการติดตั้งด้วย 3. ให้คาํ แนะนําและอบรมทั้งทางด้านเอกสารและการพบปะพูดจา หรื อสัมมนาในหัวข้อของ ระบบงาน ความรับผิดชอบ : 1. วิเคราะห์และประเมินผล เพือ่ หาความเป็ นไปได้ ( Feasibility Study) ของระบบ 2. วิเคราะห์ซ่ ึงปั ญหาที่เกิดขึ้นจากระบบธุรกิจที่เป็ นอยู่ 3. แจกแจงถึงสิ่งต่าง ๆ ที่จาํ เป็ นจะร้องพัฒนาขึ้นเพือ่ ใช้หรื อทดแทนระบบเดิม 4. กําหนดทางเลือกต่างๆ ที่เป็ นไปได้ ( Altermative solution) ในการแก้ปัญหา 5. เลือกอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์ตามความเหมาะสม 6. ดีไซน์และวางระบบงานให้คล้องจองกัน เพือ่ แก้ปัญหาของธุรกิจ 7. ให้คาํ แนะนําต่างๆ เมื่อระบบงานถูกนํามาใช้จริ ง หน้ าที่ : 1. จัดทํางบประมาณค่าใช้จ่ายต่างๆ รวมทั้งด้านกําลังคน รายวิชาพื ้นฐานคอมพิวเตอร์ เบื ้องต้ นและสารสนเทศ

เรี ยบเรี ยงโดย อาจารย์นเรศร์ บุญเลิศ วท.บ.,คม.

วงจรการพัฒนาระบบ

289

2. กําหนดแผนงานและระยะเวลาที่ใช้ในการพัฒนาระบบงาน 3. ดําเนินการสัมภาษณ์และรวบรวมข้อมูลที่สาํ คัญต่อการพัฒนาระบบงาน 4. จัดทําเอกสารและวิเคราะห์ระบบงานธุรกิจในปั จจุบนั 5. พัฒนาระบบงานโดยใช้เทคโนโลยีปัจจุบนั เพื่อปั ญหาให้แก่ธุรกิจ 6. วิเคราะห์ถึงความเหมาะสมต่างๆ ของเทคโนโลยี การปฏิบตั ิการ และฐานทางเศรษฐกิจ 7. ทบทวนและยืน่ ข้อเสนอของระบบงานเพือ่ พิจารณาอนุมตั ิ 8. ดีไซน์และตรวจสอบความถูกต้องของระบบงาน 9. ดีไซน์แฟ้ มหรื อฐานข้อมูลและโครงสร้างต่างๆ ที่ใช้ในระบบ 10. ดีไซน์ลกั ษณะการติดต่อระหว่างผูใ้ ช้ระบบกับระบบงานคอมพิวเตอร์ ( USERS) กับ โปรแกรมเมอร์ ( PROGRAMMERS) อย่างไรก็ตามธุรกิจหรื อหน่วยงานต่างๆ จึงมักจะมีความคิด ที่วา่ 11. ดีไซน์วธิ ีการเก็บข้อมูลและเทคนิค 12. ดีไซน์ระบบรักษาความปลอดภัย และการควบคุมระบบ 13. ให้คาํ แนะนําทางด้านการเขียนโปรแกรมเพือ่ ให้ระบบดําเนินไปได้ตามเป้ าหมาย 14. วางแผนงานต่างๆ เพือ่ ให้ระบบได้พฒั นาขึ้นใหม่ถูกนํามาใช้แทนระบบเดิมโดยให้มีความ ยุง่ ยากน้อยที่สุด (CONVERSION PLANS) 1.4 การเตรียมตัวเป็ นนักวิเคราะห์ บทบาทของนักวิเคราะห์ ระบบ หลังจากที่เราได้วเิ คราะห์วา่ นักวิเคราะห์ระบบจะทําหน้าที่เป็ นแกนกลางระหว่างนักธุรกิจ ( BUSINESS PEOPLE) หรื อผูใ้ ช้ระบบ ( USERS) กับโปรแกรมเมอร์( PROGRAMMERS) อย่างไรก็ตามธุรกิจหรื อหน่วยงานต่างๆ จึงมักจะมีความคิดที่วา่ นักวิเคราะห์ระบบจะต้องมีพ้นื ฐาน การเขียนโปรแกรมเป็ นอันดับแรกแนวความคิดนี้ แท้จริ งแล้วเป็ นเพียงส่วนหนึ่งเท่านั้นใน คุณสมบัติอนั ควรมีของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบจะต้องมีความสามารถที่จะพัฒนา ระบบเพือ่ แก้ปัญหาให้กบั ผูใ้ ช้หรื อธุรกิจอย่างมีเทคนิคและแบบแผน โปรแกรมเมอร์ที่เก่งมิได้ หมายความว่าเขาจะเป็ นนักวิเคราะห์ระบบที่ดีได้ในทางตรงกันข้าม โปรแกรมเมอร์ที่ไม่เก่งมิได้ หมายความว่าเขาจะเป็ นนักวิเคราะห์ระบบที่ดีไม่ได้ หากเราจะพิจารณาถึงคุณสมบัติพ้นื ฐานที่ นักวิเคราะห์ระบบควรมี โดยยึดตามแนวทางของงานที่นกั วิเคราะห์ระบบต้องใช้ปฏิบตั ิ ก็จะเป็ น ดังต่อไปนี้ 1. ความรู้ ทางด้านเทคนิคของระบบงานข้ อมูลและเทคโนโลยี รายวิชาพื ้นฐานคอมพิวเตอร์ เบื ้องต้ นและสารสนเทศ

เรี ยบเรี ยงโดย อาจารย์นเรศร์ บุญเลิศ วท.บ.,คม.

วงจรการพัฒนาระบบ

290

นักวิเคราะห์ระบบมักจะถูกมองว่าเป็ น " ตัวแทนแห่งความเปลี่ยนแปลง" เหตุที่วา่ งงานของ นักวิเคราะห์ระบบเป็ นงานที่ก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงของระบบงานโดยตรง นักวิเคราะห์ระบบ จะต้องนําเอาความรู ้ทางด้านเทคนิค และเทคโนโลยีมาช่วยให้เกิดประโยชน์ต่อระบบงานของผูใ้ ช้ หรื อธุรกิจ นักวิเคราะห์ระบบจะต้องทําตัวเองให้ทนั สมัยอยูเ่ สมอ และทราบถึงแนวโน้มที่จะเป็ นไป ในอนาคตด้วยการอ่านแม็กกาซีนรายเดือนหรื อรายสัปดาห์ ในส่ วนของระบบงานข้อมูลหรื อ คอมพิวเตอร์แม็กกาซีนจึง เป็ นสิ่งที่นกั วิเคราะห์ระบบสมควรต้องติดตามอย่างสมํ่าเสมอ นอกจากนี้ การสัมมนาทางด้านเทคโนโลยีใหม่ๆ ก็เป็ นอีกสิ่งหนึ่งที่ควรติดตามเช่นกัน 2. ประสบการณ์ทางด้ านการเขียนโปรแกรม เป็ นที่แน่นอนว่านักวิเคราะห์ระบบจะต้องทํางานใกล้ชิดกับโปรแกรมเมอร์ ความรู ้ทาง โปรแกรมจึงเป็ นสิ่งสําคัญยิง่ ที่จะช่วยให้การสื่อสาร ระหว่างนักวิเคราะห์ระบบกับโปรแกรมเมอร์ ดําเนินไปได้โดยสะดวกและเข้าใจกัน ถึงแม้วา่ นักวิเคราะห์ระบบอาจจะไม่ได้ไปนัง่ เขียนโปรแกรม ด้วยตนเองก็ตาม นักวิเคราะห์ระบบควรจะมีความรู ้ทางด้าน HIGH-LEVEL PROGRAMMING LANGUABE อย่างน้อย 1 ภาษา เช่น FORTRAN, BASIC, COBLO,ADA หรื อ ที่เราเรี ยกกันอย่าง ย่อๆ ว่า 4GL อย่างน้อย 1 ภาษาเช่น DBASE, FOXPRO,ORACLE,MAGIC, หรื อ RBASE เป็ นต้น ภาษาที่เลือกเพือ่ นําไปใช้ในการพัฒนาระบบควรจะพิจารณาตามความเหมาะสม เช่น หากเป็ น บริ ษทั ทีพฒั นาซอฟต์แวร์เพือ่ ขายโดยตรงก็อาจเลือกใช้ภาษา C เป็ นต้น หรื อหากระบบงาน เกี่ยวข้องกับงานทางด้าน วิศวกรรมหรื องานค้นคว้าทางด้านวิทยาศาสตร์ ก็อาจเลือก FORDTRAN เป็ นภาษาหลัก อย่างไรก็ตามการเลือกใช้ภาษามิได้จาํ กัดอยูเ่ ฉพาะว่าภาษานั้นเหมาะสมกับงาน ชนิด ใดหากแต่ควรคํานึงถึงว่าภาษาที่จะใช้น้ นั เป็ นภาษาที่สามารถนําไปพัฒนาระบบได้อย่างต่อเนื่อง และมีความสามารถที่จะรองรับงานนั้นได้จึงเป็ นจุดสําคัญ 3. ความรู้ ทั่วไปทางด้ านธุรกิจ คงเป็ นไปไม่ได้วา่ นักวิเคราะห์ระบบจะเป็ นผูเ้ ชี่ยวชาญไปซะทุกเรื่ องทั้งทางด้านคอมพิวเตอร์ และ ธุรกิจ แต่อย่างไรก็ดีเนื่องจากนักวิเคราะห์ระบบเป็ นตัวกลางที่จะ เชื่อมต่อระหว่างการใช้ ความสามารถของคอมพิวเตอร์ มาเป็ นประโยชน์ต่อธุรกิจหรื อผูใ้ ช้ ดังนั้น นักวิเคราะห์ระบบจึงควร จะมีความรู ้ในเชิงธุรกิจบ้าง เช่น การตลาด การบัญชี ระบบงานสินค้าคงคลัง หรื อธุรการงานบุคคล จากความรู ้พ้นื ฐานดังกล่าว อาจได้มาเองในระหว่างการพัฒนาระบบ จากการสัมภาษณ์ หรื อ รายวิชาพื ้นฐานคอมพิวเตอร์ เบื ้องต้ นและสารสนเทศ

เรี ยบเรี ยงโดย อาจารย์นเรศร์ บุญเลิศ วท.บ.,คม.

วงจรการพัฒนาระบบ

291

สอบถามจากผูร้ ู ้หรื อจากหนังสือ 4. ความสามารถในการแก้ปัญหาและวิธีแก้ ปัญหา นักวิเคราะห์ระบบจะต้องมีความสามารถที่จะตีปัญหาใหญ่ที่เกิดขึ้นแก่ธุรกิจเป็ นส่ วนๆ และ วิเคราะห์ซ่ ึงปั ญหาเหล่านั้นเพือ่ ที่จะหาวิธีการแก้ปัญหา นักวิเคราะห์ระบบจะต้องรู ้จกั วิเคราะห์ ปั ญหา ในแง่ของการหาเหตุและผล อย่างมีข้นั ตอน และรู ้จกั ที่จะใช้ความสามารถของตนเพือ่ หา วิธีการต่างๆ เพือ่ แก้ปัญหา ( ALTERNATIVE SOLUTIONS) แม้วา่ ความสามารถอันนี้จะเป็ น พรสวรรค์ที่มีมา ในแต่ละคนซึ่งไม่เหมือนกัน อย่างไรก็ตาม ความสามารถที่จะแก้ปัญหาต่างๆ ก็ สามารถที่จะพัฒนาและเรี ยนรู ้ได้ หัวใจสําคัญของการหาวิธีการแก้ปัญหานัน่ ก็คือ พยายามมองภาพ ของปั ญหาให้กว้างอย่าคิดว่า วิธีการแก้ปัญหาวิธีแรกที่ตนคิดเป็ นวิธีที่ดีที่สุดและเป็ นวิธีเดียวเท่านั้น อย่าคิดว่าวิธีการแก้ปัญหาที่คนอื่นคิดเพือ่ แก้ปัญหาที่คล้ายๆ กันกับของตนจะเป็ นวิธีมาตรฐาน และ ใช้ได้กบั กรณี ของเรา เราควรจะพิจารณาจุดแข็งและจุดอ่อน ( STRONG AND WEAK POINTS) ของแต่ละวิธีโดยละเอียดก่อนตัดสินในที่จะนําวิธีการนั้นมาพัฒนาเป็ นระบบใช้จริ ง 5. มนุษย์ สัมพันธ์ และความสามารถในการติดต่ อสื่ อสาร เนื่องจากนักวิเคราะห์ระบบจะต้องพบปะกับบุคคลหลายประเภท หลายอาชีพ และหลาย ระดับ เช่น ผูอ้ าํ นวยการ ผูจ้ ดั การ ช่างเทคนิค โปรแกรมเมอร์ เลขานุการ และนักบัญชี การสื่อสารจึง เป็ นสิ่งสําคัญอย่างยิง่ ที่จะทําให้บุคคลต่างๆ ที่นกั วิเคราะห์ระบบติดต่อผูน้ ้ นั ได้เข้าใจสิ่งที่ นักวิเคราะห์ตอ้ งการ มนุษย์สมั พันธ์และความสามารถในการสื่อสาร ในที่น้ ี หมายรวมถึง ความสามารถที่จะสัมภาษณ์ ( INTERVIEWING) ความสามารถที่จะอธิบายหรื อชี้แจงในที่ประชุม ( PRESENTATION) รวมทั้งความสามารถในการรับฟัง ( LISTENING) ด้วย นอกจากนี้ ความสามารถที่จะทํางานเป็ นกลุ่ม ( GROUP WORK OR TEAM) ก็เป็ นสิ่งหนึ่งที่นกั วิเคราะห์จะ ขาดเสียไม่ได้ เนื่องจากงานของนักวิเคราะห์ส่วนใหญ่จะต้องกระจายให้กบั โปรแกรมเมอร์ หรื อถัด ลงไปการทํางานเป็ นกลุ่มหรื อทีมจึงย่อมส่งผลต่อความสําเร็จและความเชื่อถือต่อนักวิเคราะห์ระบบ เองโดยตรง นักวิเคราะห์ระบบควรเล็งเห็นความสําคัญของการทํางานเป็ นกลุ่ม ไม่ใช่เฉพาะแต่กบั ฝ่ ายของตนเอง หรื อกับโปรแกรมเมอร์เท่านั้น หากแต่ตอ้ งแฝงตัวเองเป็ นสมาชิกในกลุ่มของผูใ้ ช้ ระบบหรื อธุรกิจที่ตนวางระบบให้อีกด้วย การทําเช่นนั้น หากแต่ตอ้ งแฝงตัวเองเป็ นสมาชิกในกลุ่ม ของผูใ้ ช้ระบบหรื อธุรกิจที่ตนวางระบบให้อีกด้วย การทําเช่นนั้นจะทําให้ผใู ้ ช้ระบบรู ้สึกเป็ น รายวิชาพื ้นฐานคอมพิวเตอร์ เบื ้องต้ นและสารสนเทศ

เรี ยบเรี ยงโดย อาจารย์นเรศร์ บุญเลิศ วท.บ.,คม.

วงจรการพัฒนาระบบ

292

นักวิเคราะห์และจะทําให้การติดตั้งระบบงานคอมพิวเตอร์เป็ นไปโดยสะดวกขึ้น พร้อมกับลดแรง กดดันหรื อต่อต้านจากผูใ้ ช้ระบบที่มีแนวความคิดว่า ตนโดนยัดเยียดระบบงานใหม่ให้แทน ระบบงานแบบดั้งเดิม นักวิเคราะห์ระบบจะต้องทําตัวเองให้ทนั สมัยอยูเ่ สมอ และทราบถึงแนวโน้ม ที่จะเป็ นไปในอนาคตด้วยการอ่านแม็กกาซีนรายเดือนหรื อรายสัปดาห์ ในส่วนของระบบงานข้อมูล หรื อคอมพิวเตอร์แม็กกาซีน จึงเป็ นสิ่งที่นกั วิเคราะห์ระบบสมควรต้องติดตามอย่างสมํ่าเสมอ นอกจากนี้การสัมมนาทางด้านเทคโนโลยีใหม่ๆ ก็เป็ นอีกสิ่งหนึ่งที่ควรติดตามเช่นกัน การเขียนผังงาน การเขียนผังงาน ( Flowchart ) ผังงาน คือ แผนภาพที่มีการใช้สญ ั ลักษณ์รูปภาพและลูกศรที่แสดงถึงขั้นตอนการทํางาน ของโปรแกรมหรื อระบบทีละขั้นตอน รวมไปถึงทิศทางการไหลของข้อมูลตั้งแต่แรกจนได้ ผลลัพธ์ตามที่ตอ้ งการ ประโยชน์ ของผังงาน • ช่วยลําดับขั้นตอนการทํางานของโปรแกรม และสามารถนําไปเขียนโปรแกรมได้โดยไม่สบั สน • ช่วยในการตรวจสอบ และแก้ไขโปรแกรมได้ง่าย เมื่อเกิดข้อผิดพลาด • ช่วยให้การดัดแปลง แก้ไข ทําได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว • ช่วยให้ผอู ้ ื่นสามารถศึกษาการทํางานของโปรแกรมได้อย่างง่าย และรวดเร็วมากขึ้น วิธีการเขียนผังงานทีด่ ี • ใช้สญ ั ลักษณ์ตามที่กาํ หนดไว้ • ใช้ลูกศรแสดงทิศทางการไหลของข้อมูลจากบนลงล่าง หรื อจากซ้ายไปขวา • คําอธิบายในภาพควรสั้นกระทัดรัด และเข้าใจง่าย • ทุกแผนภาพต้องมีลูกศรแสดงทิศทางเข้า - ออก • ไม่ควรโยงเส้นเชื่อมผังงานที่อยูไ่ กลมาก ๆ ควรใช้สญ ั ลักษณ์จุดเชื่อมต่อแทน • ผังงานควรมีการทดสอบความถูกต้องของการทํางานก่อนนําไปเขียนโปรแกรม ผังงานโปรแกรม ( Program Flowchart ) การเขียนผังโปรแกรมจะประกอบไปด้วยการใช้สญ ั ลักษณ์มาตรฐานต่าง ๆ ที่เรี ยกว่า สัญลักษณ์ ANSI ( American National Standards Institute ) ในการสร้างผังงาน ดังตัวอย่างที่แสดงในรู ป รายวิชาพื ้นฐานคอมพิวเตอร์ เบื ้องต้ นและสารสนเทศ

เรี ยบเรี ยงโดย อาจารย์นเรศร์ บุญเลิศ วท.บ.,คม.

วงจรการพัฒนาระบบ

293

ต่อไปนี้

ผังงานกับชีวิตประจําวัน การทํางานหลายอย่างในชีวติ ประจําวัน จะมีลกั ษณะที่เป็ นลําดับขั้นตอน ซึ่งก่อนที่ท่าน จะได้ศึกษาวิธีการเขียนผังงานโปรแกรม จะแนะนําให้ท่านลองฝึ กเขียนผังงานที่แสดงการทํางาน ในชีวติ ประจําวันวันก่อนเพือ่ เป็ น การสร้างความคุน้ เคยกับสัญลักษณ์รูปภาพต่าง ๆ ที่จะมีใช้ในผัง งานโปรแกรมต่อไป ดัง ตัวอย่ าง 1 เขียนผังงานที่แสดงขั้นตอนการส่งจดหมาย

รายวิชาพื ้นฐานคอมพิวเตอร์ เบื ้องต้ นและสารสนเทศ

เรี ยบเรี ยงโดย อาจารย์นเรศร์ บุญเลิศ วท.บ.,คม.

วงจรการพัฒนาระบบ

294

ตัวอย่ างที่ 2 เขียนผังงานแสดงวิธีการรับประทานยา ที่แบ่ งขนาดรับประทานตามอายุของผู้ทาน ดังนี้ • อายุมากกว่า 10 ปี รับประทานครั้งละ 2 ช้อนชา • อายุมากกว่า 3 ปี ถึง 10 ปี รับประทานครั้งละ 1 ช้อนชา • อายุมากกว่า 1 ปี ถึง 3 ปี รับประทานครั้งละ 1/2 ช้อนชา • แรกเกิดถึง 1 ปี ห้ามรับประทาน

รายวิชาพื ้นฐานคอมพิวเตอร์ เบื ้องต้ นและสารสนเทศ

เรี ยบเรี ยงโดย อาจารย์นเรศร์ บุญเลิศ วท.บ.,คม.

วงจรการพัฒนาระบบ

295

โครงสร้ างการทํางานแบบมีการเลือก ( Selection ) เป็ นโครงสร้างที่ใช้การตรวจสอบเงื่อนไขเพือ่ การทํางานอย่างใดอย่างหนึ่ง โดยโครงสร้างแบบนี้ จะมีอยูด่ ว้ ยกัน 2 รู ปแบบ คือ IF - THEN - ELSE และ IF - THEN

รายวิชาพื ้นฐานคอมพิวเตอร์ เบื ้องต้ นและสารสนเทศ

เรี ยบเรี ยงโดย อาจารย์นเรศร์ บุญเลิศ วท.บ.,คม.

วงจรการพัฒนาระบบ

296

โครงสร้างแบบ IF - THEN - ELSE เป็ นโครงสร้างที่จะทําการเปรี ยบเทียบเงื่อนไขที่ใส่ไว้ในส่วน หลังคําว่า IF และเมื่อได้ผลลัพธ์จากการเปรี ยบเทียบก็จะเลือกว่าจะทํางานต่อในส่วนใด กล่าวคือ ถ้าเงื่อนไขเป็ นจริ ง ( TRUE ) ก็จะเลือกไปทํางานต่อที่ส่วนที่อยูห่ ลัง THEN แต่ถา้ เงื่อนไขเป็ นเท็จ ( FALSE ) ก็จะไปทํางานต่อในส่วนที่อยูห่ ลังคําว่า ELSE แต่ถา้ สําหรับโครงสร้างแบบ IF - THEN เป็ นโครงสร้างที่ไม่มีการใช้ ELSE ดังนั้น ถ้ามีการ เปรี ยบเทียบเงื่อนไขที่อยูห่ ลัง IF มีค่าเป็ นจริ ง ก็จะไปทําส่วนที่อยูห่ ลัง Then แต่ถา้ เงื่อนไขเป็ นเท็จ ก็จะไปทําคําสัง่ ที่อยูถ่ ดั จาก IF - THEN แทน ตัวอย่ าง 3 การเขียนผังงานอ่ านค่าข้ อมูลเข้ ามาเก็บไว้ ในตัวแปร A และ B แล้ วทําการเปรียบเทียบ ในตัวแปรทั้งสอง โดยมีเงื่อนไขดังนี้ • ถ้า A มากกว่า B ให้คาํ นวณหาค่า A - B และเก็บผลลัพธ์ไว้ในตัวแปรชื่อ RESULT รายวิชาพื ้นฐานคอมพิวเตอร์ เบื ้องต้ นและสารสนเทศ

เรี ยบเรี ยงโดย อาจารย์นเรศร์ บุญเลิศ วท.บ.,คม.

วงจรการพัฒนาระบบ

297

• ถ้า A น้อยกว่าหรื อเท่ากับ B ให้คาํ นวณหาค่า A + B และเก็บผลลัพธ์ไว้ในตัวแปรชื่อ RESULT

ตัวอย่ าง 4 การเขียนผังงานเปรียบเทียบค่าข้ อมูลที่เก็บอยู่ในตัวแปร X โดยมีเงื่อนไขดังนี้ • ถ้า X > 0 ให้พมิ พ์คาํ ว่า " POSITIVE NUMBER " • ถ้า X < 0 ให้พมิ พ์คาํ ว่า " NEGATIVE NUMBER " • ถ้า X = 0 ให้พมิ พ์คาํ ว่า " ZERO NUMBER "

รายวิชาพื ้นฐานคอมพิวเตอร์ เบื ้องต้ นและสารสนเทศ

เรี ยบเรี ยงโดย อาจารย์นเรศร์ บุญเลิศ วท.บ.,คม.

วงจรการพัฒนาระบบ

298

โครงสร้ างการทํางานแบบมีการทํางานซํ้า เป็ นโครงสร้างที่มีการประมวลผลกลุ่มคําสัง่ ซํ้าหลายครั้ง ตามลักษณะเงื่อนไขที่กาํ หนด อาจเรี ยก การทํางานซํ้าแบบนี้ได้อีกแบบว่า การวนลูป ( Looping ) โครงสร้างแบบการทํางานซํ้านี้จะมีอยู่ 2 ประเภท คือ • DO WHILE • DO UNTIL DO WHILE เป็ นโครงสร้างที่มีการทดสอบเงื่อนไขก่อน ถ้าเงือ่ นไขเป็ นจริ งก็จะเข้ามาทํางานในกลุ่มคําสัง่ ที่ ต้องทําซํ้า ซึ่งเรี ยกว่าการเข้าลูป หลังจากนั้นก็จะย้อนกลับไปตรวจสอบเงื่อนไขใหม่อีก ถ้าเงื่อนไข ยังคงเป็ นจริ งอยู่ ก็ยงั คงต้องทํากลุ่มคําสัง่ ซํ้าหรื อเข้าลูปต่อไปอีก จนกระทัง่ เงื่อนไขเป็ นเท็จ ก็จะ รายวิชาพื ้นฐานคอมพิวเตอร์ เบื ้องต้ นและสารสนเทศ

เรี ยบเรี ยงโดย อาจารย์นเรศร์ บุญเลิศ วท.บ.,คม.

วงจรการพัฒนาระบบ

299

ออกจากลูปไปทําคําสัง่ ถัดไปทีอ่ ยูถ่ ดั จาก DO WHILE หรื ออาจเป็ นการจบการทํางาน

สรุปข้ อแตกต่ างระหว่ าง DO WHILE และ DO UNTIL มีดังนี้ 1. DO WHILE ในการทํางานครั้งแรกจะต้องมีการตรวจสอบเงื่อนไขก่อนทุกครั้ง ก่อนที่จะมีการ เข้ลูปการทํางาน 2. DO UNTIL การทํางานครั้งแรกจะยังไม่มีการตรวจสอบเงื่อนไข แต่จะเข้าไปทํางานในลูปก่อน รายวิชาพื ้นฐานคอมพิวเตอร์ เบื ้องต้ นและสารสนเทศ

เรี ยบเรี ยงโดย อาจารย์นเรศร์ บุญเลิศ วท.บ.,คม.

วงจรการพัฒนาระบบ

300

อย่างน้อย 1 ครั้งแล้วจึงจะไปตรวจสอบเงื่อนไข 3. DO WHILE จะมีการเข้าไปทํางานในลูปก็ตอ่ เมื่อตรวจสอบเงื่อนไขแล้วพบว่า เงื่อนไขเป็ นจริ ง แต่เมื่อพบว่าเงื่อนไขเป็ นเท็จ ก็จะออกจากลูปทันที 4. DO UNTIL จะมีการเข้าไปทํางานในลูปก็ต่อเมื่อตรวจสอบเงื่อนไขแล้วพบว่า เงื่อนไขเป็ นเท็จ แต่เมื่อพบว่าเงื่อนไขเป็ นจริ ง ก็จะออกจากลูปทันที ตัวอย่ าง 5 จงเขียนผังงานแสดงการเพิม่ ของข้อมูลตัวเลขที่เก็บอย่ในหน่วยความจําที่แอดเดรส 1 โดยที่ค่าเริ่ มต้นจาก 0 ให้ทาํ การเพิม่ ค่าทีละ 1 เรื่ อยไปจนกระทัง่ J มีค่าข้อมูลมากกว่า 100 จึงหยุด การทํางาน ตัวอย่างนี้ เป็ นตัวอย่างการทํางานแบบทําซํ้า ซึ่งจะสามารถแสดงการเขียนได้ท้งั แบบ DO WHILE และ DO UNTIL ดังนี้

รายวิชาพื ้นฐานคอมพิวเตอร์ เบื ้องต้ นและสารสนเทศ

เรี ยบเรี ยงโดย อาจารย์นเรศร์ บุญเลิศ วท.บ.,คม.

วงจรการพัฒนาระบบ

301

ระบบสารสนเทศ (Information system) หมายถึง ระบบที่ประกอบด้วยส่วนต่างๆ ได้แก่ ระบบ คอมพิวเตอร์ท้งั ฮาร์ดแวร์ ซอฟท์แวร์ ระบบเครื อข่าย ฐานข้อมูล ผูพ้ ฒั นาระบบ ผูใ้ ช้ ระบบ พนักงานที่เกี่ยวข้อง และ ผูเ้ ชี่ยวชาญในสาขา ทุกองค์ประกอบนี้ทาํ งานร่ วมกันเพือ่ กําหนด รวบรวม จัดเก็บข้อมูล ประมวลผลข้อมูลเพือ่ สร้างสารสนเทศ และส่งผลลัพธ์หรื อ สารสนเทศที่ได้ให้ผใู ้ ช้เพือ่ ช่วยสนับสนุนการทํางาน การตัดสินใจ การวางแผน การบริ หาร การ ควบคุม การวิเคราะห์และติดตามผลการดําเนินงานขององค์กร

รายวิชาพื ้นฐานคอมพิวเตอร์ เบื ้องต้ นและสารสนเทศ

เรี ยบเรี ยงโดย อาจารย์นเรศร์ บุญเลิศ วท.บ.,คม.

วงจรการพัฒนาระบบ

302

ระบบสารสนเทศ หมายถึง ชุดขององค์ประกอบที่ทาํ หน้าที่รวบรวม ประมวลผล จัดเก็บ และแจกจ่ายสารสนเทศ เพือ่ ช่วยการตัดสินใจ และการควบคุมในองค์กร ในการทํางานของระบบ สารสนเทศประกอบไปด้วยกิจกรรม 3 อย่าง คือ การนําข้อมูลเข้าสู่ระบบ (Input) การ ประมวลผล (Processing) และ การนําเสนอผลลัพธ์ (Output) ระบบสารสนเทศอาจจะมีการสะท้อน กลับ (Feedback) เพือ่ การประเมินและปรับปรุ งข้อมูลนําเข้า ระบบสารสนเทศอาจจะเป็ นระบบที่ ประมวลด้วยมือ(Manual) หรื อระบบที่ใช้คอมพิวเตอร์ก็ได้ (Computer-based information system – CBIS) แต่อย่างไรก็ตามในปั จจุบนั เมื่อกล่าวถึงระบบสารสนเทศ มักจะหมายถึงระบบที่ตอ้ งอาศัย คอมพิวเตอร์และระบบโทรคมนาคม ระบบสารสนเทศ หมายถึง ระบบคอมพิวเตอร์ที่จดั เก็บข้อมูล และประมวลผลเป็ น สารสนเทศ และระบบสารสนเทศเป็ นระบบที่ตอ้ งอาศัยฐานข้อมูล (CIS 105 -- Survey of Computer Information Systems, n.d.) ระบบสารสนเทศ หมายถึง ชุดของกระบวนการ บุคคล และเครื่ องมือ ที่จะเปลี่ยนข้อมูลให้ เป็ นสารสนเทศ (FAO Corporate Document Repository, 1998) ระบบสารสนเทศ ไม่วา่ จะเป็ น ระบบมือหรื อระบบอัตโนมัติ หมายถึง ระบบที่ประกอบด้วย คน เครื่ องจักรกล (machine) และ วิธีการในการเก็บข้อมูล ประมวลผลข้อมูล และเผยแพร่ ขอ้ มูล ให้อยูใ่ นลักษณะของสารสนเทศ ของผูใ้ ช้ (Information system, 2005) สรุ ปได้วา่ ระบบสารสนเทศ ก็คือ ระบบของการจัดเก็บ ประมวลผลข้อมูล โดยอาศัยบุคคล และเทคโนโลยีสารสนเทศในการดําเนินการ เพือ่ ให้ได้สารสนเทศที่เหมาะสมกับงานหรื อภารกิจแต่ ละอย่าง Laudon & Laudon (2001) ยังอธิบายว่าในมิติทางธุรกิจ ระบบสารสนเทศเป็ นระบบที่ช่วย แก้ปัญหาการจัดการขององค์กร ซึ่งถูกท้าทายจากสิ่งแวดล้อม ดังนั้นการใช้ระบบสารสนเทศอย่างมี ประสิทธิภาพ จําเป็ นที่จะต้องเข้าใจองค์กร(Organizations) การจัดการ (management) และ เทคโนโลยี (Technology)

รายวิชาพื ้นฐานคอมพิวเตอร์ เบื ้องต้ นและสารสนเทศ

เรี ยบเรี ยงโดย อาจารย์นเรศร์ บุญเลิศ วท.บ.,คม.

วงจรการพัฒนาระบบ

303

ประเภทของระบบสารสนเทศ ปั จจุบนั จะเห็นความสัมพันธ์ระหว่างองค์กร กับระบบสารสนเทศ และเทคโนโลยี สารสนเทศชัดเจนมากขึ้น และเนื่องจากการบริ หารงานในองค์กรมีหลายระดับ กิจกรรมของ องค์กรแต่ละประเภทอาจจะแตกต่างกัน ดังนั้นระบบสารสนเทศของแต่ละองค์กรอาจแบ่งประเภท แตกต่างกันออกไป ถ้าพิจารณาจําแนกระบบสารสนเทศตามการสนับสนุนระดับการทํางานในองค์กร จะแบ่ง ระบบสารสนเทศได้เป็ น 4 ประเภท ดังนี้ (Laudon & Laudon, 2001) 1. ระบบสารสนเทศสําหรับระดับผูป้ ฏิบตั ิงาน (Operational – level systems) ช่วย สนับสนุนการทํางานของผูป้ ฏิบตั ิงานในส่วนปฏิบตั ิงานพื้นฐานและงานทํารายการ ต่างๆขององค์กร เช่นใบเสร็จรับเงิน รายการขาย การควบคุมวัสดุของหน่วยงาน เป็ น ต้น วัตถุประสงค์หลักของระบบนี้ ก็เพือ่ ช่วยการดําเนินงานประจําแต่ละวัน และ ควบคุมรายการข้อมูลที่เกิดขึ้น 2. ระบบสารสนเทศสําหรับผูช้ าํ นาญการ (Knowledge-level systems) ระบบนี้สนับสนุน ผูท้ าํ งานที่มีความรู ้เกี่ยวข้องกับข้อมูล วัตถุประสงค์หลักของระบบนี้ ก็เพือ่ ช่วยให้มี การนําความรู ้ใหม่มาใช้ และช่วยควบคุมการไหลเวียนของงานเอกสารขององค์กร 3. ระบบสารสนเทศสําหรับผูบ้ ริ หาร (Management - level systems) เป็ นระบบ สารสนเทศที่ช่วยในการตรวจสอบ การควบคุม การตัดสินใจ และการบริ หารงานของ ผูบ้ ริ หารระดับกลางขององค์กร 4. ระบบสารสนเทศระดับกลยุทธ์ (Strategic-level system) เป็ นระบบสารสนเทศที่ช่วย การบริ หารระดับสูง ช่วยในการสนับสนุนการวางแผนระยะยาว หลักการของระบบคือ ต้องจัดความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมภายนอกกับความสามารถภายในที่องค์กร มี เช่นในอีก 5 ปี ข้างหน้า องค์กรจะผลิตสินค้าใด

รายวิชาพื ้นฐานคอมพิวเตอร์ เบื ้องต้ นและสารสนเทศ

เรี ยบเรี ยงโดย อาจารย์นเรศร์ บุญเลิศ วท.บ.,คม.

วงจรการพัฒนาระบบ

304

สุชาดา กีระนันทน์ (2541)และ Laudon & Laudon (2001) ได้แบ่งประเภทของระบบ สารสนเทศที่สนับสนุนการทํางานของผูป้ ฏิบตั ิงาน/ผูบ้ ริ หารระดับต่างๆไว้ ดังนี้

ประเภทของระบบสารสนเทศ (สุชาดา กีระนันทน์, 2541) 1. ระบบประมวลผลรายการ (Transaction Processing Systems) 2. ระบบสํานักงานอัตโนมัติ (Office Automation Systems) 3. ระบบงานสร้างความรู ้ (Knowledge Work Systems) 4. ระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการ (Management Information Systems) 5. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support Systems) 6. ระบบสารสนเทศสําหรับผูบ้ ริ หารระดับสูง (Executive Information Systems)

ประเภทของระบบสารสนเทศ (Laudon & Laudon, 2001) 1. Transaction Processing System - TPS 2. Knowledge Work -KWS and office Systems

3. Management Information Systems - MIS 4. Decision Support Systems - DSS 5. Executive Support System - ESS

1. ระบบประมวลผลรายการ (Transaction Processing Systems - TPS) เป็ นระบบที่ทาํ หน้าที่ในการปฏิบตั ิงานประจํา ทําการบันทึกจัดเก็บ ประมวลผลรายการที่เกิดขึ้นใน แต่ละวัน โดยใช้ระบบคอมพิวเตอร์ทาํ งานแทนการทํางานด้วยมือ ทั้งนี้เพือ่ ที่จะทํา การสรุ ปข้อมูลเพือ่ สร้างเป็ นสารสนเทศ ระบบประมวลผลรายการนี้ ส่วนใหญ่จะเป็ น ระบบที่เชื่อมโยงกิจการกับลูกค้า ตัวอย่าง เช่น ระบบการจองบัตรโดยสาร เครื่ องบิน ระบบการฝากถอนเงินอัตโนมัติ เป็ นต้น ในระบบต้องสร้างฐานข้อมูลที่ จําเป็ น ระบบนี้มกั จัดทําเพือ่ สนองความต้องการของผูบ้ ริ หารระดับต้นเป็ นส่วนใหญ่ รายวิชาพื ้นฐานคอมพิวเตอร์ เบื ้องต้ นและสารสนเทศ

เรี ยบเรี ยงโดย อาจารย์นเรศร์ บุญเลิศ วท.บ.,คม.

วงจรการพัฒนาระบบ

2.

3.

4.

5.

305

เพือ่ ให้สามารถปฏิบตั ิงานประจําได้ ผลลัพธ์ของระบบนี้ มักจะอยูใ่ นรู ปของ รายงานที่ มีรายละเอียด รายงานผลเบื้องต้น ระบบสํ านักงานอัตโนมัติ (Office Automation Systems- OAS) เป็ นระบบที่สนับสนุน งานในสํานักงาน หรื องานธุรการของหน่วยงาน ระบบจะประสานการทํางานของ บุคลากรรวมทั้งกับบุคคลภายนอก หรื อหน่วยงานอื่น ระบบนี้จะเกี่ยวข้องกับการ จัดการเอกสาร โดยการใช้ซอฟท์แวร์ดา้ นการพิมพ์ การติดต่อผ่านระบบไปรษณี ย ์ อิเล็กทรอนิกส์ เป็ นต้นผลลัพธ์ของระบบนี้ มักอยูใ่ นรู ปของ เอกสาร กําหนดการ สิ่งพิมพ์ ระบบงานสร้ างความรู้ (Knowledge Work Systems - KWS) เป็ นระบบที่ช่วย สนับสนุน บุคลากรที่ทาํ งานด้านการสร้างความรู ้เพือ่ พัฒนาการคิดค้น สร้างผลิตภัณฑ์ ใหม่ๆ บริ การใหม่ ความรู ้ใหม่เพือ่ นําไปใช้ประโยชน์ในหน่วยงาน หน่วยงานต้องนํา เทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนให้การพัฒนาเกิดขึ้นได้โดยสะดวก สามารถ แข่งขันได้ท้งั ในด้านเวลา คุณภาพ และราคา ระบบต้องอาศัยแบบจําลองที่สร้าง ขึ้น ตลอดจนการทดลองการผลิตหรื อดําเนินการ ก่อนที่จะนําเข้ามาดําเนินการจริ งใน ธุรกิจ ผลลัพธ์ของระบบนี้ มักอยูใ่ นรู ปของ สิ่งประดิษฐ์ ตัวแบบ รู ปแบบ เป็ นต้น ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information Systems- MIS) เป็ น ระบบสารสนเทศสําหรับผูป้ ฏิบตั ิงานระดับกลาง ใช้ในการวางแผน การบริ หาร จัดการ และการควบคุม ระบบจะเชื่อมโยงข้อมูลที่มีอยูใ่ นระบบประมวลผลรายการ เข้าด้วยกัน เพือ่ ประมวลและสร้างสารสนเทศที่เหมาะสมและจําเป็ นต่อการ บริ หารงาน ตัวอย่าง เช่น ระบบบริ หารงานบุคลากร ผลลัพธ์ของระบบนี้ มักอยูใ่ นรู ป ของรายงานสรุ ป รายงานของสิ่งผิดปกติ ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ (Decision Support Systems – DSS) เป็ นระบบที่ช่วย ผูบ้ ริ หารในการตัดสินใจสําหรับปั ญหา หรื อที่มีโครงสร้างหรื อขั้นตอนในการหา คําตอบที่แน่นอนเพียงบางส่วน ข้อมูลที่ใช้ตอ้ งอาศัยทั้งข้อมูลภายในกิจการและ ภายนอกกิจการประกอบกัน ระบบยังต้องสามารถเสนอทางเลือกให้ผบู ้ ริ หารพิจารณา เพือ่ เลือกทางเลือกที่เหมาะสมที่สุดสําหรับสถานการณ์น้ ัน หลักการของระบบ สร้าง ขึ้นจากแนวคิดของการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยการตัดสินใจ โดยให้ผใู ้ ช้โต้ตอบโดยตรง กับระบบ ทําให้สามารถวิเคราะห์ ปรับเปลี่ยนเงื่อนไขและกระบวนการพิจารณาได้ โดยอาศัยประสบการณ์ และ ความสามารถของผูบ้ ริ หารเอง ผูบ้ ริ หารอาจกําหนด

รายวิชาพื ้นฐานคอมพิวเตอร์ เบื ้องต้ นและสารสนเทศ

เรี ยบเรี ยงโดย อาจารย์นเรศร์ บุญเลิศ วท.บ.,คม.

วงจรการพัฒนาระบบ

306

เงื่อนไขและทําการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขต่างๆ ไปจนกระทัง่ พบสถานการณ์ที่เหมาะสม ที่สุด แล้วใช้เป็ นสารสนเทศที่ช่วยตัดสินใจ รู ปแบบของผลลัพธ์ อาจจะอยูใ่ นรู ปของ รายงานเฉพาะกิจ รายงานการวิเคราะห์เพือ่ ตัดสินใจ การทํานาย หรื อ พยากรณ์ เหตุการณ์ 6. ระบบสารสนเทศสําหรับผู้บริหารระดับสู ง (Executive Information System EIS) เป็ นระบบที่สร้างสารสนเทศเชิงกลยุทธ์สาํ หรับผูบ้ ริ หารระดับสูง ซึ่งทําหน้าที่ กําหนดแผนระยะยาวและเป้ าหมายของกิจการ สารสนเทศสําหรับผูบ้ ริ หารระดับสูงนี้ จําเป็ นต้องอาศัยข้อมูลภายนอกกิจกรรมเป็ นอย่างมาก ยิง่ ในยุคปั จจุบนั ที่เป็ นยุค Globalization ข้อมูลระดับโลก แนวโน้มระดับสากลเป็ นข้อมูลที่จาํ เป็ นสําหรับการ แข่งขันของธุรกิจ ผลลัพธ์ของระบบนี้ มักอยูใ่ นรู ปของการพยากรณ์/การคาดการณ์ ถึงแม้วา่ ระบบสารสนเทศจะมีหลายประเภท แต่องค์ประกอบที่จาํ เป็ นของระบบ สารสนเทศทุกประเภท ก็คือต้องประกอบด้วยกิจกรรม 3 อย่างตามที่ Laudon & Laudon (2001) ได้กล่าวไว้ คือ ระบบต้องมีการนําเข้าข้อมูล การประมวลผลข้อมูล และการแสดงผลลัพธ์ของข้อมูล สรุ ปไว้วา่ การพัฒนาระบบสารสนเทศในองค์กรนั้นเป็ นสิ่งท้าทายผูบ้ ริ หารเป็ นอย่าง มาก การที่จะพัฒนาระบบสารสนเทศขึ้นในหน่วยงานเป็ นสิ่งที่ผบู ้ ริ หารและผูร้ ับผิดชอบการพัฒนา ระบบ ต้องร่ วมกันตัดสินใจอย่างรอบคอบ เพราะการนําระบบสารสนเทศมาใช้อาจจะกระทบต่อ กระบวนการดําเนินงานและการบริ หารที่เป็ นอยู่ หรื ออาจจะมีผลก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงใน องค์กร การพัฒนาระบบสารสนเทศ แนวทางการพัฒนาระบบสารสนเทศ ในการพัฒนาระบบสารสนเทศให้เกิดขึ้นภายในองค์กร จัดทําได้ 4 วิธีดว้ ยกัน จัดทําขึน้ เองโดยอาศัยเจ้ าหน้ าที่ระบบงานคอมพิวเตอร์ - หากบุคลากรขาดความรู ้ความสามารถ อย่างแท้จริ ง ก็เกิด การเปลืองเวลาและทรัพยากรมาก มีความเสี่ยงสู ง 2. ว่ าจ้ างบริ ษทั ที่ปรึ กษาจัดทําระบบให้ - หน้าที่คือ ให้คาํ ปรึ กษาในการเขียนรายละเอียดสําหรับ ประมูลงานคอมพิวเตอร์ให้คาํ ปรึ กษาในการวิเคราะห์และออกแบบระบบคอมพิวเตอร์ให้บริ การใน รายวิชาพื ้นฐานคอมพิวเตอร์ เบื ้องต้ นและสารสนเทศ

เรี ยบเรี ยงโดย อาจารย์นเรศร์ บุญเลิศ วท.บ.,คม.

วงจรการพัฒนาระบบ

307

การเขียนโปรแกรมที่ผใู ้ ช้ตอ้ งการให้บริ การติดตั้ง ดูแล ควบคุมระบบงานให้บริ การอื่น ๆ เช่นการ จัดซื้อ จัดหาระบบคอมพิวเตอร์การเตรี ยมการเพื่อว่าจ้างบริ ษทั ที่ปรึ กษาระบบงานคอมพิวเตอร์ ต้องดําเนินการดังนี้ -ผูว้ า่ จ้างต้องศึกษาความต้องการให้ชดั เจน -จัดทําใบแจ้งให้บริ ษทั เสนอราคามาให้ -จัดส่งประกาศเชิญ -ประเมินข้อเสนอของบริ ษทั -เลือกบริ ษทั ที่ปรึ กษา -เจรจาต่อรองเงื่อนไขและราคา -จัดทําสัญญาว่าจ้าง -ควบคุมติดตามและประเมินผลงานของบริ ษทั แนวทางในการคัดเลือกบริ ษทั ที่ปรึ กษามาพัฒนาระบบ หรื อซอฟต์แวร์ - มัน่ คง มีประสบการณ์ มีบคุ ลากรที่มีความสามารถตรงสาขา มีเหตุและผลทางกฏเกณฑ์ 3. การซื้อซอฟต์แวร์สาํ เร็จมาใช้ - ทําให้สะดวกรวดเร็ว น่าเชื่อถือ มีเอกสารประกอบ ใช้ง่าย ปรับปรุ งง่าย ข้ อเสี ย บางประเภทมีราคาแพง ไม่ตรงกับความต้องการของผูใ้ ช้ เปลี่ยนแปลงไม่ได้ ใช้ งานยาก สรุ ปประเด็นในการพิจารณาเลือกซอฟต์แวร์ ดังนี้ -ในกรณี ที่มีคอมพิวเตอร์ใช้งานอยูแ่ ล้ว -ความสามารถพื้นฐานของซอฟต์แวร์ที่ควรพิจารณา รายวิชาพื ้นฐานคอมพิวเตอร์ เบื ้องต้ นและสารสนเทศ

เรี ยบเรี ยงโดย อาจารย์นเรศร์ บุญเลิศ วท.บ.,คม.

วงจรการพัฒนาระบบ

308

-ประเด็นเกี่ยวกับราคาและค่าใช้จ่าย -ประเด็นเกี่ยวกับบริ ษทั ผูข้ าย 4. ผู้ใช้ ทาํ ขึน้ เอง - พัฒนาโปรแกรมขึ้นมาใช้งานเอง ซึ่งไม่ซบั ซ้อนนัก ใช้เครื่ องมือโปรแกรม ประยุกต์ช่วย วงจรการพัฒนาระบบสารสนเทศ ปฏิบตั ิตามขั้นตอนเรี ยกว่า “วัฏจักรการพัฒนาระบบงาน (System Development Life Cycle หรื อ SDLC)”

มีข้นั ตอน 7 ขั้นตอน คือ แบบจําลองนํา้ ตก (Waterfall Model) ขั้นตอนที่ 1. การศึกษาเบือ้ งต้ น (Preliminary Study) เป็ นการศึกษาถึงความเหมาะสม กําหนดปั ญหา หรื อการศึกษาความเป็ นไปได้ (Feasibility Study) เป็ นหน้าที่ของนักวิเคราะห์ระบบ จะเน้นศึกษาใน 5 ประการ คือ 1. ความเหมาะสมทางด้ านเทคนิค (Technical Feasibility) - ศึกษาด้านฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ เหมาะสมหรื อไม่ รายวิชาพื ้นฐานคอมพิวเตอร์ เบื ้องต้ นและสารสนเทศ

เรี ยบเรี ยงโดย อาจารย์นเรศร์ บุญเลิศ วท.บ.,คม.

วงจรการพัฒนาระบบ

309

2. ความเหมาะสมทางด้ านการปฏิบัติงาน (Operational Feasibility) - การปฏิบตั ิงาน ซํ้าซ้อนหรื อไม่ ตรงหรื อไม่ 3. ความเหมาะสมทางด้ านการเงิน (Financial Feasibility) - เปรี ยบเทียบความคุม้ ค่า ผลตอบแทน ค่าใช้จ่าย 4. ความเหมาะสมทางด้ านเวลา (Schedule Feasibility) - พิจารณาเวลาในการสร้าง ระบบงาน การใช้เวลา 5. ความเหมาะสมทางด้ านบุคลากร (Human Feasibility) - ดูความพร้อมของบุคลากร การ พัฒนาบุคลากร ขั้นตอนที่ 2. การวิเคราะห์ระบบ (Analysis) เป็ นการศึกษาระบบการทํางานเดิม ความตอบสนองต่อความต้องการของผูใ้ ช้ กําหนด ความต้องการระบบงานใหม่นกั วิเคราะห์ตอ้ งดําเนินการดังนี้ 1. ทบทวนวัตถุประสงค์และเป้ าหมายของการวิเคราะห์ระบบให้ชดั เจน 2. ศึกษาแนวทางที่ได้เสนอไว้ในรายงานการศึกษาเบื้องต้น 3. ศึกษาและรวบรวมเอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับระบบ - แผนผังการจัดองค์กร (Organization Chart) - แผนงานของหน่วยงาน - เอกสารแบบฟอร์ม และรายงานต่าง ๆ ที่ใช้ในหน่วยงาน - กฎและระเบียบต่าง ๆ 4. ศึกษาความต้องการของผูบ้ ริ หาร - สัมภาษณ์ผบู ้ ริ หารและผูป้ ฏิบตั ิงาน รายวิชาพื ้นฐานคอมพิวเตอร์ เบื ้องต้ นและสารสนเทศ

เรี ยบเรี ยงโดย อาจารย์นเรศร์ บุญเลิศ วท.บ.,คม.

วงจรการพัฒนาระบบ

310

- สํารวจความต้องการโดยใช้แบบสอบถาม 5. ศึกษาสภาพการปฏิบตั ิงานจริ ง - ทําความเข้าใจเนื้อหาและรู ปแบบของข้อมูลที่ใช้อยูใ่ นปั จจุบนั - ทําความเข้าใจทางเดินของข้อมูล (Data Flow) - ทําความเข้าใจกระบวนการทํางาน ทําความเข้าใจในเรื่ องการดูแลรักษาข้อมูล 6. จําแนกปั ญหาในระบบปั จจุบนั 7.พิจารณาแนวทางแก้ไขปั ญหา 8.ร่ างเค้าโครงของระบบใหม่ 9.คํานวณทรัพยากรต่าง ๆ 10.จัดทํารายงานการวิเคราะห์ระบบ ขั้นตอนที่ 3. การออกแบบระบบ (Design) ออกแบบระบบใหม่เพือ่ ให้สอดคล้องกับความต้องการของผูใ้ ช้และฝ่ ายบริ หาร เป็ นขึ้น ตอนต่อจากการวิเคราะห์โดยทัว่ ไปการออกแบบระบบจะกระทําใน 2 ขั้นตอนดังนี้ การออกแบบโครงสร้ างของระบบ (Conceptual Design) เป็ นการกําหนดว่าระบบใหม่มีการทํางาน อะไร หรื อเรี ยกว่า การออกแบบเชิ งตรรกะ (Logical Design) - ทบทวนรายงานการวิเคราะห์ระบบ - แยกระบบงานรวมออกเป็ นสองส่วนอย่างคร่ าว ๆ รายวิชาพื ้นฐานคอมพิวเตอร์ เบื ้องต้ นและสารสนเทศ

เรี ยบเรี ยงโดย อาจารย์นเรศร์ บุญเลิศ วท.บ.,คม.

วงจรการพัฒนาระบบ

311

- ออกแบบลําดับต่าง ๆ ของงาน - กําหนดส่วนที่คนและคอมพิวเตอร์ตอ้ งทํางานประสานกัน การออกแบบในรายละเอี ยด (Detail Design) - ออกแบบรายละเอียดต่าง ๆ ของระบบ - ออกแบบข้อมูลต่าง ๆ สําหรับใช้ในการตรวจสอบความถูกต้องของระบบ - ออกแบบรายละเอียดและเนื้ อหาของการฝึ กอบรมที่จาํ เป็ น - จัดทํารายงานออกแบบ ขั้นตอนที่ 4. การเขียนและทดสอบโปรแกรม (Construction) เป็ นการเขียนและทดสอบโปรแกรมตามที่ได้ออกแบบไว้ ตามความต้องการของผูใ้ ช้ จะต้องมีลกั ษณะ ทํางานได้ผลตรงกับความต้องการของผูใ้ ช้ ทํางานได้ถูกต้องไม่ผดิ พลาดคลาดเคลื่อน เชื่อถือได้ แก้ไขดัดแปลงได้ง่าย ขั้นตอนที่ 5. การทดสอบระบบ (Testing) เป็ นการทดสอบระบบหลังจากเขียนโปรแกรมไปแล้ว เพือ่ ตรวจสอบความผิดพลาด มี วิธีการดังนี้ การทดสอบรวม (Integration Test) - ดูการเชื่อมโยงระหว่างโปรแกรม การทดสอบทั้งระบบ (System Test) - ทดสอบตั้งแต่เริ่ มโปรแกรม จนได้ผลลัพธ์ การทดสอบการยอมรับระบบ (Acceptance Test) - การให้ผใู ้ ช้ได้ใช้งาน รายวิชาพื ้นฐานคอมพิวเตอร์ เบื ้องต้ นและสารสนเทศ

เรี ยบเรี ยงโดย อาจารย์นเรศร์ บุญเลิศ วท.บ.,คม.

วงจรการพัฒนาระบบ

312

นอกจากนี้ยงั มีงานต่าง ๆ ที่ตอ้ งทํา คือ 1. การเตรี ยมเอกสารระบบ - คู่มือระบบและโปรแกรม คู่มือปฏิบตั ิงาน คูม่ ือผูใ้ ช้ 2. การฝึ กอบรมผูใ้ ช้ - เป็ นการเตรี ยมการใช้งานให้กบั บุคลากรในการใช้ระบบงานใหม่ มีหลายวิธี คือ 3.การฝึ กอบรมโดยการจัดกลุ่มสัมมนา (Seminars and Group Instruction) 4.การฝึ กอบรมวิธีปฏิบตั ิงาน (Procedural Training) 5.การฝึ กอบรมโดยการบรรยาย (Tutorial Training) 6.การฝึ กอบรมโดยการจําลองสถานการณ์ (Simulation) 7.การฝึ กอบรมโดยการปฏิบตั ิงานจริ ง (On the job Training) ขั้นตอนที่ 6. การเปลี่ยนระบบ (Conversion) การเปลี่ยนจากระบบงานเดิมมาเป็ นระบบงานใหม่ที่ได้ออกแบบและพัฒนาเรี ยบร้อยแล้ว มี 4 วิธีการ คือ 1.การเปลี่ยนระบบทันที (Direct Conversion) เหมาะกับระบบเดิมทีไ่ ม่มีประโยชน์ต่อ องค์กรแล้ว 2.การเปลี่ยนระบบแบบคู่ขนาน (Parallel Conversion) เป็ นการใช้ระบบเก่าและระบบใหม่ พร้อมกัน 3.การเปลี่ยนแปลงระบบตามหน่วยงาน (Modular Conversion) หรื อ หลักการแบบนํา ร่ อง (Pilot Approach) เป็ นการนําระบบไปใช้ในบางหน่วยงาน 4.การเปลี่ยนแปลงระบบที่ละส่วน (Phase-In Conversion) แบ่งตามส่วนระบบงาน หลังการการพัฒนาระบบไปแล้ ว อาจมีปัญหาต่ าง ๆ ตามมา ซึ่ งการปรั บปรุงแก้ ไขกระทําได้ 2 วิธี คือ รายวิชาพื ้นฐานคอมพิวเตอร์ เบื ้องต้ นและสารสนเทศ

เรี ยบเรี ยงโดย อาจารย์นเรศร์ บุญเลิศ วท.บ.,คม.

วงจรการพัฒนาระบบ

313

1.การบํารุ งรักษาระบบ (Maintenance) 2.การเปลี่ยนแปลงระบบทั้งหมด (redevelopment) การบริหารโครงการพัฒนาระบบสารสนเทศ จะประกอบด้วยขั้นตอนต่าง ๆ คือ

1. การ วางแผนโครงการ - เกี่ยวกับการจัดบุคลากรในโครงการ การงบประมาณ การกําหนดระยะเวลา และ เป้ าหมายการวางแผนโครงการจะต้องกําหนดทีมงานสําหรับพัฒนา ซึ่งอาจมีหลายระดับดังรู ป หัวหน้ าโครงการ - เป็ นผูว้ างแผน ควบคุม สัง่ การและติดตามให้งานพัฒนาระบบ สารสนเทศดําเนินไปอย่างเรี ยบร้อยและได้ผลตามเป้ าหมาย ผู้ปะสานโครงการ - ทําหน้าที่ติดต่อประสานงาน อํานวยความสะด้วยให้กบั ทีมงานพัฒนา ระบบสารสนเทศ นักวิเคราะห์ ระบบ - ทําการศึกษาความเหมาะสมของระบบงาน และศึกษาวิเคราะห์ความ ต้องการของผูใ้ ช้ นักเขียนโปรแกรม - ทําหน้าที่พฒั นาโปรแกรม และทําการทดสอบโปรแกรมและทดสอบ ระบบ วิศวกรสื่ อสาร - กําหนดระบบสื่อสารข้อมูล การเชื่อมโยงอุปกรณ์ ระบบเครื อข่าย พนักงานเอกสาร - จัดพิมพ์เอกสาร จัดหมวดหมู่เอกสารโครงการ เป็ นเลขานุการ รายวิชาพื ้นฐานคอมพิวเตอร์ เบื ้องต้ นและสารสนเทศ

เรี ยบเรี ยงโดย อาจารย์นเรศร์ บุญเลิศ วท.บ.,คม.

วงจรการพัฒนาระบบ

314

2. การบริ หารโครงการ - เป็ นการจัดการให้บุคลากรในทีมงานดําเนินงานต่าง ๆ ตามขั้นตอน โดยมี ประเด็นที่จะต้องพิจารณาด้วยกันดังนี้ การกําหนดผลงานสํารั บส่ งมอบ - เป็ นหน้าที่ของหัวหน้าโครงการที่ตอ้ งกําหนดผลงาน สําหรับส่งมอบให้แต่ละขั้นตอน การมอบหมายงาน - หัวหน้าโครงการจะต้องแบ่งงานออกเป็ นส่วน ๆ มอบหมายให้บุคคล เกี่ยวข้อง การควบคุมการเปลี่ยนแปลง - หากไม่ทนั กับการกําหนดไว้ จะต้องมีการเปลี่ยนแปลง ความสัมพันธ์ กับผู้ใช้ - การสร้างความรู ้สึกอันดีต่อกัน ทําให้งานดําเนินไปได้ดว้ ยดี การปิ ดโครงการ - เป็ นขั้นตอนที่สิ้นสุดและส่งมอบงานต่าง ๆ การพัฒนางานประยุกต์อย่างเร็ว

(Rapid Application Development: RAD) เป็ นการคิดค้นหาวิธีการในการพัฒนาระบบงานต่าง ๆ การกําหนดความต้ องการ - เป็ นการกําหนดหน้าที่และงานต่าง ๆ ภายในระบบ โดยผูใ้ ช้ และบริ หารร่ วมสัมมนา การออกแบบโดยผู้ใช้ - ผูใ้ ช้มีส่วนในการออกแบบระบบที่ไม่ใช่ทางเทคนิคคอมพิวเตอร์ เช่น ฟอร์ม หน้าจอ

รายวิชาพื ้นฐานคอมพิวเตอร์ เบื ้องต้ นและสารสนเทศ

เรี ยบเรี ยงโดย อาจารย์นเรศร์ บุญเลิศ วท.บ.,คม.

วงจรการพัฒนาระบบ

315

การสร้ างระบบ - โดยการใช้ตวั ซอฟต์แวร์ประยุกต์อย่างเร็ว (RAD Software) ในการสร้าง โปรแกรม การเปลี่ยนระบบ - ทําการทดสอบระบบให้เสร็จสิ้นก่อน ฝึ กอบรม แล้วจึงมีการ เปลี่ยนแปลง เครื่ องมือในการพัฒนาระบบงานอย่างเร็ว ภาษาในยุคที่ 4 เช่น ภาษา SQL (Structure Query Language) เป็ นภาษาที่ใช้ในการ สอบถามข้อมูลในโปรแกรมจัดการฐานข้อมูลต่าง ๆ เครื่ องมือทําต้ นแบบ (Prototyping Tool) เป็ นเครื่ องมือที่สร้างต้นแบบของงานได้อย่าง รวดเร็ ว ที่ช่วยในการกําหนดความต้อง การออกแบบ และขั้นตอนการสร้างระบบงาน เครื่ องมือ CASE (Computer – Aided Software Engineering) เป็ นซอฟต์แวร์ในการวาด แผนภาพต่าง ๆ ที่จาํ เป็ นต้องใช้สาํ หรับการออกแบบระบบ การพัฒนามาตราฐานของซอฟต์แวร์ เพือ่ ไม่ให้เกิดความสับสนกับผูใ้ ช้ ในการกําหนดมาตราฐานก็ควรจะมีการกําหนดทั้งใน ส่วนของโปรแกรมและเอกสาร เมื่อผูใ้ ช้งานระบบและผูพ้ ฒั นาระบบ สามารถบํารุ งรักษาระบบ ต่อไปในอนาคตได้ ประกอบด้วย มาตรฐานของโปรแกรม - ประกอบไปด้วยรายละเอียด (Specification) เกี่ยวกับภาษาที่จะ นํามาใช้ในการเขียนระบบงาน การเลือกใช้ภาษาที่เหมาะสม การใช้คาํ สัง่ ที่เป็ นที่รู้จกั ทัว่ ไป การตั้ง ชื่อตัวแปรต่าง ๆ มาตรฐานของเอกสารประกอบระบบ - (Document Standard) เป็ นรายละเอียดทั้งหมดของ เอกสารในระบบงาน เพือ่ ใช้ในการอ้างอิงกับระบบงาน เมื่อมีการแก้ไข ปรับปรุ ง หรื อเปลี่ยนแปลง โดยทัว่ ไปจะประกอบด้วยเอกสาร 3 ชุด คือ

รายวิชาพื ้นฐานคอมพิวเตอร์ เบื ้องต้ นและสารสนเทศ

เรี ยบเรี ยงโดย อาจารย์นเรศร์ บุญเลิศ วท.บ.,คม.

วงจรการพัฒนาระบบ

316

- เอกสารประกอบการทํางานของผู้ใช้ (User Documentation) เป็ นเอกสารแสดงวิธีใช้งาน ระบบ - เอกสารประกอบการทํางานของพนักงานปฏิบตั ิงานเครื่ อง (Operator documentation) เป็ นเอกสารที่บอกถึงขั้นตอนการทํางานของระบบ โดยส่วนมากจะนําเสนอในรู ปแบบ ของแผนภูมิ (Flow Chart) - เอกสารประกอบการทํางานของผู้เขียนโปรแกรม (Programmer documentation) เป็ น คู่มือสําหรับ ระบบงานที่ได้พฒั นาไปแล้ว อธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของโปรแกรมเทคนิคในการเขียน ตัวแปร ประเภทของระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศจําแนกตามโครงสร้ างองค์การ (Classification by Organizational Structure) การจําแนกประเภทนี้เป็ นการจําแนกตามโครงสร้างขององค์การ ตั้งแต่ระดับหน่วยงานย่อยระดับ องค์การทั้งหมด และระดับระหว่างองค์การ สารสนเทศของหน่ วยงานย่อย (Departmental information system) หมายถึงระบบสารสนเทศที่ออกมาเพือ่ ใช้สาํ หรับหน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่งขององค์การ โดยแต่ ละหน่วยงานอาจมีโปรแกรมประยุกต์ใช้งานใดงานหนึ่งของตนโดยเฉพาะ เช่น ฝ่ ายบุคลากรอาจจะ มีโปรแกรมสําหรับการคัดเลือกบุคคล หรื อติดตามผลการโยกย้ายงานของเจ้าหน้าที่ในหน่วยงาน โดยโปรแกรมทั้งหมดที่เกี่ยวข้องของฝ่ ายบุคลากร จะมีชื่อว่าระบบสารสนเทศด้านทรัพยากรมนุษย์ (Human resources information systems) ระบบสารสนเทศของทั้งองค์การ (Enterprise information systems) หมายถึงระบบสารสนเทศของหน่วยงานที่มีการเชื่อมโยงกับหน่วยงานที่ท้งั หมดภายในองค์การ หรื ออีกนัยหนึ่งก็คือองค์การนั้นมีระบบสารสนเทศที่เชื่อมโยงทั้งองค์การ ระบบสารสนเทศที่เชื่อมโยงระหว่ างองค์การ (Interorganizational information systems-IOS) รายวิชาพื ้นฐานคอมพิวเตอร์ เบื ้องต้ นและสารสนเทศ

เรี ยบเรี ยงโดย อาจารย์นเรศร์ บุญเลิศ วท.บ.,คม.

วงจรการพัฒนาระบบ

317

เป็ นระบบสารสนเทศที่เชื่อมโยงกับองค์การอื่นๆ ภายนอกตั้งแต่ 2 องค์การขึ้นไป เพือ่ ช่วยให้การ ติดต่อสื่อสาร หรื อการประสานงานร่ วมมือมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยการผ่านระบบ IOS จะช่วย ทําให้การไหลของสารสนเทศระหว่างองค์การหรื อทั้งซัพพลายเชน (Supply chain) เป็ นไปโดย อัตโนมัติ เพือ่ ใช้ในการวางแผน ออกแบบ การพัฒนา การผลิต และการส่งสินค้าและบริ การ การจําแนกตามหน้ าที่ขององค์การ (Classification by Functional Area) การจําแนกระบบสารสนเทศประเภทนี้ จะเป็ นการสนับสนุนการทํางานตาหน้าที่หรื อการทํา กิจกรรมต่างๆ ขององค์การ โดยทัว่ ไปองค์การมักใช้ระบบสารสนเทศในงานที่เกี่ยวข้องกับหน้าที่ ต่างๆ เช่น • • • • •

ระบบสารสนเทศด้านบัญชี (Accounting information system) ระบบสารสนเทศด้านการเงิน (Finance information system) ระบบสารสนเทศด้านการผลิต (Manufacturing information system) ระบบสารสนเทศด้านการตลาด (Marketing information system) ระบบสารสนเทศด้านทรัพยากรมนุษย์ (Human resource management information system)

การจําแนกตามการให้ การสนับสนุนของระบบสารสนเทศ (Classification by Support Provided) การจําแนกตามการให้การสนับสนุนของระบบสารสนเทศ แบ่งเป็ น 3 ประเภทย่อย คือ ระบบสารสนเทศแบบประมวลรายการ (Transaction Processing Systems) ระบบสารสนเทศแบบ รายงานเพือ่ การจัดการ (Management Reporting Systems) และระบบสารสนเทศเพือ่ สนับสนุนการ ตัดสินใจ (Decision Support Systems) ระบบสารสนเทศแบบรายงานเพือ่ การจัดการ (Management Reporting Systems) เป็ นระบบสารสนเทศที่ช่วยในการทํารายงานตามระยะเวลาที่กาํ หนดไว้ และช่วยในการ ตัดสินใจที่มีลกั ษณะโครงสร้างชัดเจนและเป็ นเรื่ องที่ทราบล่วงหน้า ระบบสารสนเทศเพือ่ สนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support Systems) เป็ นระบบสารสนเทศที่ช่วยผูบ้ ริ หารตัดสิ นใจเชิงกลยุทธ์ มีความยืดหยุน่ สู ง และมีลกั ษณะ โต้ตอบได้ (interactive) โดยอาจมีการใช้โมเดลการตัดสินใจ หรื อการใช้ฐานข้อมูลพิเศษช่วยในการ

รายวิชาพื ้นฐานคอมพิวเตอร์ เบื ้องต้ นและสารสนเทศ

เรี ยบเรี ยงโดย อาจารย์นเรศร์ บุญเลิศ วท.บ.,คม.

วงจรการพัฒนาระบบ

318

ตัดสินใจ ระบบสารสนเทศแบบประมวลรายการ(Transaction Processing Systems -TPS) เป็ นระบบสารสนเทศที่เกี่ยวกับการบันทึกและประมวลข้อมูลที่เกิดจาก ธุรกรรมหรื อการ ปฏิบตั ิงานประจําหรื องานขั้นพื้นฐานขององค์การ เช่น การซื้อขายสินค้า การบันทึกจํานวนวัสดุคง คลัง เมื่อใดก็ตามที่มีการทําธุรกรรมหรื อปฏิบตั ิงานในลักษณะดังกล่าวข้อมูลที่เกี่ยวข้องจะเกิดขึ้น ทันที เช่น ทุกครั้งที่มีการขายสินค้า ข้อมูลที่เกิดขึ้นก็คือ ชื่อลูกค้า ประเภทของลูกค้า จํานวนและ ราคาของสินค้าที่ขายไป รวมทั้งวิธีการชําระเงินของลูกค้า วัตถุประสงค์ของ TPS 1. มุ่งจัดหาสารสนเทศทั้งหมดที่หน่วยงานต้องการตามนโยบายของหน่วยงานหรื อตามกฎหมาย เพือ่ ช่วยในการปฏิบตั ิงาน 2. เพือ่ เอื้ออํานวยต่อการปฏิบตั ิงานประจําให้มีความรวดเร็ ว 3. เพือ่ เป็ นหลักประกันว่าข้อมูลและสารสนเทศของหน่วยงานมีความ ถูกต้องเป็ นอันหนึ่งอัน เดียวกันและรักษาความลับได้ 4. เพือ่ เป็ นสารสนเทศที่ป้อนข้อมูลเข้าสู่ระบบสารสนเทศที่ใช้ในการตัดสินใจอื่น เช่น MRS หรื อ DSS หน้ าที่ของ TPS หน้าที่ของ TPS มีดงั นี้ 1. การจัดกลุ่มของข้อมูล (Classification) คือ การจัดกลุ่มข้อมูลลักษณะเหมือนกันไว้ดว้ ยกัน 2. การคิดคํานวณ (Calculation) การคิดคํานวณโดยใช้วธิ ีการคณิ ตศาสตร์ เช่น บวก ลบ คูณ หาร เพือ่ ให้ได้ผลลัพธ์ที่เป็ นประโยชน์ เช่น การคํานวณภาษีขายทั้งหมดที่ตอ้ งจ่ายในช่วง 3 ปี ที่ผา่ นมา 3. การเรี ยงลําดับข้อมูล (Sorting) การจัดเรี ยงข้อมูลเพือ่ ทําให้การประมวลผลง่ายขึ้น เช่น การ จัดเรี ยง invoices ตามรหัสไปรษณี ยเ์ พือ่ ให้การจัดส่งเร็ วยิง่ ขึ้น 4. การสรุ ปข้อมูล (Summarizing) เป็ นการลดขนาดของข้อมูลให้เล็กหรื อกะทัดรัดขึ้น เช่น การ คํานวณเกรดเฉลี่ยของนักศึกษาแต่ละคน รายวิชาพื ้นฐานคอมพิวเตอร์ เบื ้องต้ นและสารสนเทศ

เรี ยบเรี ยงโดย อาจารย์นเรศร์ บุญเลิศ วท.บ.,คม.

วงจรการพัฒนาระบบ

319

5. การเก็บ (Storage) การบันทึกเหตุการณ์ที่มีผลต่อการปฏิบตั ิงาน อาจจําเป็ นต้องเก็บรักษาข้อมูล ไว้ โดยเฉพาะข้อมูลบางประเภทที่จาํ เป็ นต้องเก็บรักษาไว้ตามกฎหมาย ที่จริ งแล้ว TPS เกี่ยวข้องกับ งานทุกระดับในองค์การ แต่งานส่วนใหญ่ของ TPS จะเกิดขึ้นในระดับปฏิบตั ิการมากกว่า แม้วา่ TPS จะจําเป็ นในการปฏิบตั ิงานในองค์การแต่ระบบ TPS ก็ไม่เพียงพอในการสนับสนุนในการ ตัดสินใจของผูบ้ ริ หาร ดังนั้นองค์การจึงจําเป็ นต้องมีระบบอื่นสําหรับช่วยผูบ้ ริ หารด้วย ดังจะกล่าว ต่อไป ลักษณะสํ าคัญของระบบสารสนเทศแบบ TPS ลักษณะที่สาํ คัญของระบบ TPS มีดงั นี้ • •



• • • • • •



มีการประมวลผลข้อมูลจํานวนมาก แหล่งข้อมูลส่วนใหญ่มาจากภายในและผลทีไ่ ด้เพือ่ ตอบสนองต่อผูใ้ ช้ภายในองค์การเป็ น หลัก อย่างไรก็ตามในปั จจุบนั หุน้ ส่วนทางการค้าอาจจะมีส่วนใน การป้ อนข้อมูลและ อนุญาตให้หน่วยงานที่เป็ นหุน้ ส่วนใช้ผลที่ได้จาก TPS โดยตรง กระบวนการประมวลผลข้อมูลมีการดําเนินการเป็ นประจํา เช่น ทุกวัน ทุกสัปดาห์ ทุกสอง สัปดาห์ มีความสามารถในการเก็บฐานข้อมูลจํานวนมาก มีการประมวลผลข้อมูลที่รวดเร็ว เนื่องจากมีปริ มาณข้อมูลจํานวนมาก TPS จะคอยติดตามและรวบรวมข้อมูลภายหลังที่ผลิตข้อมูลออกมาแล้ว ข้อมูลที่ป้อนเข้าไปและที่ผลิตออกมามีลกั ษณะมีโครงสร้างที่ชดั เจน (structured data) ความซับซ้อนในการคิดคํานวณมีนอ้ ย มีความแม่นยําค่อนข้างสูง การรักษาความปลอดภัย ตลอดจนการรักษาข้อมูลส่วนบุคคลมี ความสําคัญเกี่ยวข้องโดยตรงกับ TPS ต้องมีการประมวลผลทีม่ ีความน่าเชื่อถือสูง

กระบวนการของ TPS กระบวนการประมวลข้อมูลของ TPS มี 3 วิธี คือ 1. Batch processing การประมวลผลเป็ นชุดโดย การรวบรวมข้อมูลที่เกิดจากธุรกรรมที่เกิดขึ้นและ รวมไว้เป็ นกลุ่มหรื อเป็ นชุด (batch) เพือ่ ตรวจสอบความถูกต้อง หรื อจัดลําดับให้เรี ยบร้อยก่อนที่จะ รายวิชาพื ้นฐานคอมพิวเตอร์ เบื ้องต้ นและสารสนเทศ

เรี ยบเรี ยงโดย อาจารย์นเรศร์ บุญเลิศ วท.บ.,คม.

วงจรการพัฒนาระบบ

320

ส่งไปประมวลผล โดยการประมวลผลนี้ จะกระทําเป็ นระยะๆ (อาจจะทําทุกคืน ทุก 2-3 วัน หรื อทุก สัปดาห์) 2. Online processing คือ ข้อมูลจะได้รับการประมวลผล และทําให้เป็ นเอาท์พทุ ทันทีที่มีการป้ อน ข้อมูลของธุรกรรมเกิดขึ้น เช่น การเบิกเงินจากตู ้ ATM จะประมวลผลและดําเนินการทันที เมื่อมี ลูกค้าใส่รหัสและป้ อนข้อมูลและคําสัง่ เข้าไปในเครื่ อง 3. Hybrid systems เป็ นวิธีการผสมผสานแบบที่ 1) และ2) โดยอาจมีการรวบรวมข้อมูลที่เกิดขึ้น ทันที แต่การประมวลผลจะทําในช่วงกระยะเวลาที่กาํ หนด เช่น แคชเชียร์ที่ป้อนข้อมูล การซื้ อขาย จากลูกค้าเข้าคอมพิวเตอร์ ณ จุดขายของ แต่การประมวลผลข้อมูลจากแคชเชียร์ทุกคนอาจจะทํา หลังจากนั้น (เช่น หลังเลิกงาน) Customer Integrated Systems (CIS) เป็ นระบบสารสนเทศซึ่งพัฒนามาจาก TPS โดยลูกค้าสามารถป้ อนข้อมูลและทําการ ประมวลผลด้วยตนเองได้ เช่น ATM (Automated teller machines) ซึ่งช่วยให้ลูกค้า สามารถติดต่อ กับธนาคารได้ทุกที่และทุกเวลา ATM ทําให้ลูกค้ามีความคล่องตัวในการเข้าถึง มากขึ้น และทําให้ ธนาคารไม่จาํ เป็ นต้องจ้างพนักงานจํานวนมากอีกต่อไป ซึ่งช่วยให้ธนาคารประหยัดเงินได้จาํ นวน หลายล้านบาทต่อปี ดังนั้นบางธนาคารจึงได้ส่งเสริ มให้ลูกค้าในการใช้ ATM โดยการคิด ค่าธรรมเนียมหากลูกค้าติดต่อกับพนักงานในการเบิกถอนเงิน ในลักษณะที่สามารถเบิกถอนได้กบั เครื่ อง ATM นอกจากงานของธนาคารแล้ว ในปั จจุบนั มหาวิทยาลัยต่างๆ ได้นาํ ระบบ CIS มาใช้เพือ่ ให้นกั ศึกษา สามารถลงทะเบียน โดยผ่านเครื่ องโทรศัพท์ นอกจากนี้ CIS ยังช่วยให้ประชาชนสามารถจ่ายค่านํ้า ค่าไปจากคอมพิวเตอร์ที่บา้ นก็ได้ หน้ าที่การทํางานของ TPS งานเงินเดือน (Payroll) • การติดตามเวลาการทํางานของพนักงาน • การคิดเงินเดือน โดยมีการหักภาษี ค่าประกัน หรื อค่าใช้จ่ายอื่นๆ • การออกเช็คเงินเดือนหรื อการโอนเงินเดือนเข้าบัญชีให้กบั ลูกจ้าง การสั่ งซื้อสินค้า (Purchasing) • การสัง่ ซื้อหรื อบริ การต่างๆ • การบันทึกข้อมูล การส่งสินค้าหรื อบริ การจากซัพพลายเออร์ การเงินและการบัญชี (Finance and Accounting) รายวิชาพื ้นฐานคอมพิวเตอร์ เบื ้องต้ นและสารสนเทศ

เรี ยบเรี ยงโดย อาจารย์นเรศร์ บุญเลิศ วท.บ.,คม.

วงจรการพัฒนาระบบ

321

• การบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับรายรับ • การบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับภาษี • การติดตามค่าใช้จ่ายต่างๆ การขาย (Sales) • การบันทึกข้อมูลการขาย • การออกใบเสร็จรับเงินหรื อบิลส่งสินค้า • การติดตามข้อมูลรายรับ • การบันทึกการจ่ายหนี้ • การเก็บข้อมูลการส่งสินค้าหรื อบริ การไปยังลูกค้า วัสดุคงคลัง • การติดตามการใช้วสั ดุภายในหน่วยงาน(Inventory Management) • การติดตามระดับปริ มาณของวัสดุคงเหลือ • การสัง่ ซื้อวัสดุที่จาํ เป็ น ระบบสารสนเทศแบบรายงานเพือ่ การจัดการ (Management Reporting Systems MRS) ระบบสารสนเทศที่ช่วยในการทํารายงานตามระยะเวลาที่กาํ หนดไว้ โดยการสรุ ปสารสนเทศที่มีอยู่ ไว้ในฐานข้อมูล หรื อช่วยในการตัดสินใจในลักษณะที่โครงสร้างชัดเจนและเป็ นเรื่ องที่ทราบ ล่วงหน้า หน้ าที่ของแบบ MRS 1. ช่วยในการตัดสินใจงานประจําของผูบ้ ริ หารระดับกลาง 2. ช่วยในการทํารายงาน 3. ช่วยในการตัดสินใจที่เป็ นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นบ่อยๆ และมีโครงสร้างแน่นอน เช่น การอนุมตั ิ สินเชื่อให้กบั ลูกค้า ลักษณะของ MRS 1. ช่วยในการจัดทํารายงานซึ่งมีรูปแบบที่กาํ หนดไว้เป็ นมาตรฐานตายตัว 2. ใช้ขอ้ มูลภายในที่เก็บไว้ในฐานข้อมูล 3. ช่วยในการวางแผนงานประจํา และควบคุมการทํางาน 4. ช่วยในการตัดสินใจที่เกิดขึ้นประจําหรื อเกิดขึ้นบ่อยๆ รายวิชาพื ้นฐานคอมพิวเตอร์ เบื ้องต้ นและสารสนเทศ

เรี ยบเรี ยงโดย อาจารย์นเรศร์ บุญเลิศ วท.บ.,คม.

วงจรการพัฒนาระบบ

322

5. มีขอ้ มูลในอดีต ปั จจุบนั และวิเคราะห์แนวโน้มอนาคต 6. ติดตามการดําเนินงานภายในหน่วยงานเปรี ยบเทียบผลการดําเนินงาน กับเป้ าหมายและส่ง สัญญาณหากมีจุดใดที่ตอ้ งการการปรับปรุ งแก้ไข ประเภทของรายงาน MRS รายงานจาก MRS มีลกั ษณะต่างๆ ดังนี้ 1. รายงานที่จดั ทําเมื่อต้องการ (Demand reports) เพือ่ ใช้สนับสนุนการตัดสินใจ เป็ นรายงานที่ จัดเตรี ยมรู ปแบบรายงานล่วงหน้าและจะจัดทําเมื่อผูบ้ ริ หาร ต้องการเท่านั้น 2. รายงานที่ทาํ ตามระยะเวลากําหนด (Periodic reports) โดยกําหนดเวลา และรู ปแบบของรายงาน ไว้ล่วงหน้า เช่น มีการจัดทํารายงานทุกวัน ทุกสัปดาห์ ทุกเดือน ทุกปี เช่น ตารางเวลาการผลิต 3. รายงานสรุ ป (Summarized reports) เป็ นการทํารายงานในภาพรวม เช่น รายงานยอดขายของ พนักงานขาย จํานวนนักศึกษาลงทะเบียนวิชา MIS 4. รายงานเมื่อมีเงื่อนไขเฉพาะเกิดขึ้น (Exception reports) เป็ นการจัดทํารายงานเมื่อมีเกณฑ์เงื่อนไข เฉพาะ เพือ่ ตรวจสอบเงื่อนไขต่างๆ ว่าแตกต่างจากที่วางแผนไว้หรื อไม่ เช่น การกําหนดให้เศษของ ที่เหลือ (scrap) จากการผลิตในโรงงานเป็ น 1 เปอร์เซ็นต์ แต่ในการผลิตช่วงหลังกลับมีเศษของที่ เหลือ 5 เปอร์เซ็นต์ ดังนั้นอาจมีการเขียนโปรแกรม ในการประมวลผลเพือ่ หาว่าเศษของที่เหลือเกิน จากที่กาํ หนดไว้ได้อย่างไร ระบบสารสนเทศเพือ่ สนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support Systems-DSS) ระบบสารสนเทศแบบ DSS เป็ นระบบสารสนเทศที่ช่วยในการตัดสินใจ ซึ่งมีลกั ษณะมีโครงสร้าง ไม่ชดั เจน โดยนําข้อมูลมาจากหลายแหล่งช่วยในการนําเสนอและมีลกั ษณะยืดหยุน่ ตามความ ต้องการ ลักษณะของ DSS 1. ระบบสารสนเทศที่ใช้สาํ หรับการสนับสนุนผูต้ ดั สินใจทางการบริ หารทั้งที่เป็ นตัวบุคคลหรื อกลุ่ม โดยการตัดสินใจนั้นจะเกี่ยวข้องกับสถานการณ์ที่มีลกั ษณะเป็ นแบบ ไม่มีโครงสร้าง (Unstructured situations) โดยจะมีการนําวิจารณญาณของมนุษย์กบั ข้อมูล จากคอมพิวเตอร์มาใช้ประกอบในการ ตัดสินใจ 2. ระบบ DSS ช่วยในการตอบสนองความต้องการที่ไม่ได้คาดการณ์มาก่อนโดยผูใ้ ช้สามารถปรับ ข้อมูลใน DSS ได้ตลอดเวลาเพือ่ จัดการกับเงื่อนไขต่างๆ ที่เปลี่ยนแปลงไป โดยใช้การวิเคราะห์ที่ เรี ยกว่า Sensitivity Analysis รายวิชาพื ้นฐานคอมพิวเตอร์ เบื ้องต้ นและสารสนเทศ

เรี ยบเรี ยงโดย อาจารย์นเรศร์ บุญเลิศ วท.บ.,คม.

วงจรการพัฒนาระบบ

323

3. ช่วยในการตัดสินใจที่ตอ้ งการความรวดเร็วสูง เพือ่ ใช้ประกอบในการกําหนดกลยุทธ์ในการ แข่งขัน ดังนั้น DSS จึงมีลกั ษณะการโต้ตอบได้ (interactive) 4. เสนอทางวิเคราะห์ในทางเลือกต่างๆ ในสถานการณ์ที่มีความซับซ้อน 5. จัดการเก็บข้อมูลซึ่งมาจากหลายแหล่งได้ ทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน 6. นําเสนอได้ท้งั รายงานที่เป็ นข้อความและกราฟิ ก

รายวิชาพื ้นฐานคอมพิวเตอร์ เบื ้องต้ นและสารสนเทศ

เรี ยบเรี ยงโดย อาจารย์นเรศร์ บุญเลิศ วท.บ.,คม.

View more...

Comments

Copyright � 2017 SILO Inc.